Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดโดยหัตถการ - Coggle Diagram
การบำบัดโดยหัตถการ
-
การดูแลดามกระดูก
-
อาการของกระดกหัก
- อวัยวะผิดรูป การหักบิดที่มีลักษณะผิดปกติ
- เคลื่อนไหวแขนขาได้น้อย หรือเคลื่อนไหวไม่ได้เลย
- บวมบริเวณกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ
-
- ปวดกระดูก/รอบๆ อาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว
- เกิดกระดูกทิ่มผิวหนังออกมา
-
-
-
วิธีการดามกระดูก
กระดูกเชิงกรานหัก
ใช้วิธีผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกัน โดยสอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้างๆ 2 ข้างไว้ ใต้ตะโพกและเชิงกรานผูกปมตรงกลางลำตัว วางผ้านุ่มๆ ระหว่างขาทั้ง 2 ข้าง บริเวณเข่าและข้อเท้า แล้วผูกติดกันด้วยผ้าสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8 และผูกผ้า รอบเข่าทั้ง 2 ข้าง
กระดูกสันหลังหัก
จะมีอันตรายร้ายแรงกว่ากระดูกสันหลังส่วนล่างหักดังนั้น การเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะส่วนที่หัก อาจจะไปกดหรือบาดไขสันหลังให้ขาดได้ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต หรือไม่ก็เป็นอัมพาตได้
-
กระดูกขาท่อนล่างหัก
ดามโดยใช้เผือก 2 อัน ยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่าและใช้ผ้าผูกติดกันเป็นเปลาะๆ ใช้ผ้าหนาๆ สอดระหว่างขาทั้ง 2 ข้าง แล้วผูกติดกันเป็นเปลาะๆ
ข้อควรระวัง ควรให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอและคอยตรวจดูว่าผ้าที่มัดไว้แน่นเกินไป จนเลือดไหลไม่สะดวกหรือไม่และพยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่รัด
กระดูกต้นขาหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้นโดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงใต้รักแร้อกชิ้น ยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขา แล้วใช้ผ้าผูกเฝือกทั้ง 2 ให้ติดกับขาข้างที่หัก
ถ้าไม่มีเฝือกให้ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกัน ถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่ อย่าพยายามล้างทำความสะอาดถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน
-
-