Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระจิตสังคมของมารดาในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระจิตสังคมของมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก (Uterus)
การกลับคืนสู่สภาพเรียกว่า "มดลูกเข้าอู่"
การหดตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก
กระบวนการย่อยสลายโมเลกุล
เนื้องอกของเยื่อบุมดลูก
ขนาดและน้ำหนักของมดลูก
ภายหลังคลอดทันทีจะอยู่ระหว่างสะดือกับหัวเหน่าและมีน้้าหนักประมาณ1,000 กรัม
กว้างประมาณ 12 เซนติเมตร และหนาประมาณ 8-10 เซนติเมตร
น้ำคาวปลา
คือ สิ่งที่ถูกขับออกมาจากแผลในโพรงมดลูกบริเวณตำแหน่งที่เกาะของรก
น้าคาวปลาปกติ
ลักษณะเลือดปนน้ำเหลือง
มีฤทธิ์เป็นด่าง เฉลี่ยมีปริมาณ 250 มิลลิลิตร ในสัปดาห์แรก
หมดภายในสัปดาห์ที่ 3 หรือ สัปดาห์ที่ 4
มี 3 ลักษณะ
Lochia rubra
สิ่งที่ขับออกมามีลักษณะสีแดงคล้้าและข้นประกอบด้วยเลือดเป็นส่วนใหญ่น้้าคร่้าเศษเยื่อหุ้มเด็กเยื่อบุมดลูกไขและขนของเด็กขี้เทาลักษณะเลือดไม่เป็นก้อน
1-3วันหลังคลอด
Lochia serosa
ลักษณะน้้าคาวปลาสีจะจางลงเป็นสีชมพูสีน้้าตาลหรือค่อนข้างเหลืองมีมูกปนท้าให้ลักษณะที่ออกมาเป็นเลือดจางๆยืดได้เนื่องจากบริเวณแผลมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นมีเม็ดเลือดขาวมีน้้าเหลือง (Exudate)
4-9 วันหลังคลอด
Lochia alba
หลังคลอดน้้าคาวปลาจะค่อยๆน้อยลงเป็นสีเหลืองจางๆหรือสีขาวประกอบด้วยเม็ดเลือดขาวเยื่อบุโพรงมดลูกที่สลายตัวแล้วมูกจากปากมดลูกหรือน้้าเมือกและจุลินทรีย์เล็กๆ
10-21 วันหลังคลอด
เยื่อบุโพรงดลูก
หลังจากรกและเยื่อหุ้มเด็กคลอดแล้วจะเกิดรอยแผลที่บริเวณรก
ใน 2-3 วันแรกหลังคลอด เยื่อบุโพรงมดลูกจะลดขนาดลงเหลือประมาณ 9 เซนติเมตร หรือ 1 ฝ่ามือ
ชั้นนอก
ส่วนที่อยู่ติดกับโพรงมดลูกจะมีเนื้อตายสลายตัวหลุดออกมาปนกับสิ่งที่ขับออกจากโพรงมดลูก
Lochia
ชั้นใน
ส่วนที่อยู่ติดกับผนังมดลูก มีต่อมเนื้อเยื่อ connective ทำหน้าที่สร้าง เนื้อเยื่อบุโพรงมดลูก
อาการปวดมดลูก (Afterpain)
มีสาเหตุจากการหดรัดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
เกิดในหญิงครรภ์หลัง
การลดระดับของมดลูก
ยอดมดลูกสูงขึ้นอยู่ที่ระดับสะดือ
เกิดการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและหลอดเลือดแดง
“มดลูกไม่เข้าอู่” (Subinvolution of uterus)
การคลอดยาวนานหรือจากการคลอดยาก
เคยตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
การได้รับยาระงับความรู้สึกในขณะคลอด
การมีเศษรกค้างอยู่ในโพรงมดลูกซึ่งจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
มีปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ
มี Early ambulation ช้ากว่าปกติ
กระบวนการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมดลูก
เกิดในช่วง 2 –3 วันแรกหลังคลอด
เกิดจากการหดรัดตัวและการคลายตัวของมดลูกสลับกัน
มารดาครรภ์หลังจะมีอาการปวดมากกว่าครรภ์แรก เพราะความตึงตัวของกล้ามเนื้อมดลูกลดลง
ขณะให้บุตรดูดนมอาจมีการปวดมดลูกเพิ่มขึ้นจาก oxytocin มดลูกยืดขยายมาก ปวดมาก เช่น ในรายที่มีการคลอดล่าช้า น้้ำคร่ำมาก ครรภ์แฝด มีเศษรกหรือเยื่อหุ้มเด็กค้างในโพรงมดลูก
ปากมดลูก
กระบวนการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงช่องคลอด
ภายในสัปดาห์ที่ 3 –4หลังคลอด ผนังช่องคลอดจะค่อยๆฟื้นตัวช้าๆ
ภายใน 6 –10 สัปดาห์ ผนังช่องคลอดฟื้นตัวกลับสู่สภาวะปกติ หากมีเพศสัมพันธ์ก่อนอาจจะเกิดความเจ็บปวดได้ (dyspareunia)
ฝีเย็บ
กระบวนการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงฝีเย็บ
กรณีตัดฝีเย็บหรือมีการฉีกขาดแผลฝีเย็บจะเริ่มหายภายใน 2 –3สัปดาห์
หลังคลอดบริเวณฝีเย็บจะร้อนแดง erythematous เกิดจากการคั่งและบวมช้า
แผลฝีเย็บหายเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ประมาณ 4-6 เดือน
บางรายมีความไม่สุขสบาย ปวดแผลฝีเย็บ อาจนาน 6เดือนหลังคลอด
หัวนม และเต้านม
การเปลี่ยนแปลงหัวนมและเต้านมหลังคลอด
หลังคลอด ฮอร์โมน estrogen และ progesterone ลดลงอย่างรวดเร็ว มีการไหลเวียนเพิ่มที่เต้านม
ต่อมใต้สมองผลิตฮอร์โมน prolactin เพิ่มขึ้น ทำให้มีการสร้างน้านม
ระยะนี้เกิดกลไกการผลิตน้ำนม (production of milk)หลั่งน้านม (let –down reflex)
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
Prolactin
มีระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ในขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
มารดาที่ไม่ได้ BF นั้น Prolactinจะลดลงเท่ากับก่อนตั้งครรภ์ใน 2สัปดาห์หลังคลอด
มารดาที่ BF จะมีระดับ Prolactinคงอยู่ในระดับสูงนาน 6 –12 เดือน แต่แตกต่างกันออกไปตามความถี่ของการให้นมบุตรในแต่ละวัน
ระดับ Prolactinปกติ หากมารดาให้นมบุตร 1-3 ครั้ง/ วัน และจะคงระดับได้นานกว่า 1 ปี หากให้นมบุตรสม่าเสมอมากกว่า 6 ครั้ง/ วัน
การตกไข่และการมีประจาเดือนแรกแตกต่างกันในมารดาหลังคลอดแต่ละราย
Follicle-stimulating hormone (FSH)Luteinizing
มารดาหลังคลอดจะไม่มีการตกไข่และการมีประจำเดือนอยู่ช่วงระยะหนึ่ง เนื่องจากระดับ Estrogenและ Progesterone ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ร่วมกับระดับ Prolactin เพิ่มขึ้นกดการทางานของรังไข่ (Inhibit follicular development) ทาให้กดการหลั่ง FSH & LHซึ่งทำให้ไม่มีการกดไข่และ ไม่มีประจาเดือน
Luteinizing hormone (LH)
มารดาที่ไม่ได้ BF จะกลับมามีประเดือนอีกครั้ง ภายใน 7-9 สัปดาห์ พบว่า ร้อยละ 50 ของประจาเดือนครั้งแรกจะไม่มีการตกไข่ เนื่องจาก corpus luteum ยังทำงานได้ไม่เต็มที่ มีระดับ LH และ Progesteroneในเลือดต่ำ
การตกไข่จะเกิดขึ้นเร็วสุดอีกครั้ง ประมาณวันที่ 25 หลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
ไต
การทำงานของไตลดลงอาจเนื่องจากระดับของ steroid hormone
ท่อไตและกรวยไตที่ขยายในระยะตั้งครรภ์ จะกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ภายใน 4-6สัปดาห์หลังคลอด
ส่วนประกอบของน้ำปัสสาวะ
ระยะแรกหลังคลอดพบ lactosuria
ระดับblood urea nitrogen สูงในมารดา BF เนื่องจากการเกิด involution of uterus
อาจพบ mild proteinuria (+1)ซึ่งเกิดจากกระบวนการย่อยสลายโมเลกุล (catabolism)
อาจพบ ketonuriaได้ในผู้คลอดที่คลอดยาวนานร่วมกับมีภาวะ dehydration
การขับออกทางเหงื่อและปัสสาวะในระยะหลังคลอด
2-3 วันแรกหลังคลอดมารดาจะรู้สึกไม่สุขสบายจากการมีเหงื่อออกมากโดยเฉพาะในเวลากลางคืนและปัสสาวะออกมา ประมาณ 2,000-3,000 ml. เนื่องจากมีการลดลงของ estrogen, blood volume, adrenal aldosterone และ venous pressure ที่ขา
การเปลี่ยนแปลงระบบหัวใจและหลอดเลือด
การสูญเสียเลือดในระยะคลอด ทาให้ปริมาณเลือดในร่างกายลดลง ประมาณ 1-2 สัปดาห์ ปริมาณเลือดจะใกล้เคียงเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ จากปัจจัย ดังนี้
สิ้นสุดการไหลเวียนเลือดระหว่างมารดาและทารก
ฮอร์โมนจากรกลดลง เนื่องจากสูญเสียการทำหน้าที่
การขับออกของรก สูญเสียเลือดประมาณ 300-500 ml.(C/S สูญเสียเลือดประมาณ 1,000 ml.)
น้ำนอกเซลล์กลับเข้าสู่หลอดเลือด
สัญญาณชีพ
ชีพจร
ชีพจร เกิด bradycardia ประมาณ 50 -60/ min เนื่องจากCardiac outputเพิ่มขึ้น และ stroke volume
8-10 สัปดาห์หลังคลอดจะกลับสู่ระดับปกติPR จาก PPH, infection, pain, anxiety
การหายใจ
RR ลดลงจากการลดลงของมดลูก กระบังลมเคลื่อนต่าลง มี ผลต่อ cardiac axis เข้าสู่ระดับปกติในสัปดาห์ที่ 6-8หลังคลอด
Systolic murmur ที่เกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์ หายไปในวันที่ 8 หลังคลอดหรือคงอยู่นานถึง 4เดือนหลังคลอด
ความดันโลหิต
ภายใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด BP อาจสูงขึ้น หรือลดลงได้เล็กน้อย กลับคืนสู่ระดับปกติ ประมาณ วันที่ 4หลังคลอด
BP ต่าได้จาก สูญเสียเลือดมากจากการคลอด หรือได้รับยาบางชนิด
อุณหภูมิร่างกาย
24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด อุณหภูมิอาจสูงขึ้นเล็กน้อย ภาวะนี้ เรียกว่า Reactionary feverเป็นผลจากการสูญเสียน้า เลือด และพลังงานจากการคลอด
แต่หาก BT เกิน 38องศาเซลเซียส เกิน 24ชั่วโมง แสดงว่าอาจติดเชื้อเกิดขึ้น
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
2-3 ชั่วโมงแรก จะสูงขึ้นชั่วคราว เนื่องจากมดลูกมีขนาดเล็กลงและแรงกดที่บริเวณมดลูกลดลงและน้ำนอกหลอดเลือดกลับเข้าสู่หลอดเลือด
โดยปกติ Cardiac outputจะสูงประมาณ 48ชั่วโมงหลังคลอดจะลดลงภายใน 2 สัปดาห์ ลดลงร้อยละ 30
6-12 สัปดาห์ จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
ความอยากอาหาร
มีความอยากเพิ่มขึ้นจากการสูญเสียพลังงานในการคลอด, NPO , รับยาบรรเทาความปวด รวมทั้งการสูญเสียน้า เลือด ในระยะคลอด และหลังคลอดออกทางปัสสาวะ เหงื่อ และน้ำคาวปลา
ท้องผูก
พบได้บ่อย 2-3 วันหลังคลอด เนื่องจาก progesterone ทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวช้าลง
ความตึงตัวของทางเดินอาหารและความดันในช่องท้องลดลง
สวนอุจจาระก่อนคลอด
เจ็บบริเวณฝีเย็บและริดสีดวงทวาร ทาให้มารดาไม่อยากถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บแผล
การสูญเสียน้าในร่างกายและ NPOกลับคืนสู่สภาพเดิมประมาณ 8-14 วัน
น้าหนัก
ลดลงทันทีหลังคลอด ประมาณ 4.5-5.5กก. จากการคลอดทารกรกและการสูญเสียเลือด
สัปดาห์แรกหลังคลอด ลดลงอีก 2.3-3.6กก. จากการขับออกทางเหงื่อ ปัสสาวะ และกระบวนการ involution of uterus
สัปดาห์ที่ 6 –8 มารดาที่มี BMI ปกติก่อนการตั้งครรภ์ และมีน้าหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ที่ปกติ จะมีน้ำหนักลดลงใกล้เคียงกับระยะก่อนการตั้งครรภ์
สตรีที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาจะมีน้าหนักลดลงเร็วกว่าสตรีที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา เนื่องจากการให้นมบุตรจะสลายไขมันตามร่างกายที่สะสมไว้ นามาใช้สร้างน้านมในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด โดยสตรีที่ให้นมบุตรสม่าเสมอ จะเผาผลาญพลังงานต่อวัน ประมาณ 500 แคลอรี่ต่อวัน
การเปลี่ยนแปลงระบบผิวหนัง
Linea nigra, Facial chloasmaสีผิวที่เข้มขึ้นบริเวณลานนมจะจางลง และหายไป
Striaegravidarumบริเวณหน้าท้อง เต้านม และต้นขา จะค่อยๆจางเป็นสีเงิน และจะไปหายสมบูรณ์
หลอดเลือดที่ผิดปกติ เช่น spider angiomus, plamarerythema และepulisโดยปกติจะลดลง
การเปลี่ยนแปลงระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ผนังกล้ามเนื้อมีการยืดขยายจากการคลอด ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลงโดยเฉพาะสตรีที่ผ่านการคลอดหลายครั้งพบdiastasis recti เกิดจาก rectus abdomenis ออกเป็น 2ส่วน ทำให้ไม่มีกล้ามเนื้อตรงกลางหน้าท้อง
กล้ามเนื้อและข้อต่อ
1 –2 วันหลังคลอดมารดามักมีอาการล้าและปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เป็นผลมาจากการเบ่งคลอดการลดลงของระดับ relaxin ช้าๆ
ประมาณ 6-8สัปดาห์หลังคลอดข้อต่อจะกลับคืนสู่สภาพเหมือนเดิมก่อนตั้งครรภ์กล้ามเนื้อหน้าท้อง