Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือด ในครึ่งแรกของการตั้งครรภ์ - Coggle…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือด
ในครึ่งแรกของการตั้งครรภ์
การแท้ง (abortion)
4) การแท้งครบหรือการแท้งสมบูรณ์ (complete abortion)
การพยาบาล
ไม่ต้องทำอะไร
อาการและอาการแสดง
การที่ทารกในครรภ์และเนื้อรกทั้งหมดแท้งออกมาจากมดลูก GA>20 wks.ปากมดลูกปิด
2) การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (inevitable abortion)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกจากโพรงมดลูก ปวดท้องน้อยมาก ปากมดลูกเปิดที่ยังไม่มีชิ้นส่วนของการตั้งครรภ์ออกมาทางช่องคลอด U/Sพบ
ชิ้นส่วนของการตั้งครรภ์อยู่ในมดลูกส่วนล่างหรือในปากมดลูก
การพยาบาล
ป้องกันการตกเลือด ดูดเอาทารกออก เพื่อให้เป็นแท้งครบ
1) การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกกะปริดกะปรอยทางช่องคลอด โดยที่ปากมดลูกยังเปิดอยู่ อาจมีอาการปวดท้องน้อยคล้ายปวดประจำเดือน HFสัมพันธ์กับGA ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงยังคงมีการตั้งครรภ์อยู่และพบ gestational sac
การพยาบาล
ให้นอนพักผ่อน หลีกเลี่ยงก่รทำงานหนัก หลีกเลี่ยงการเดินทาง งดมีเพศสัมพันธ์
3) การแท้งไม่ครบหรือการแท้งไม่สมบูรณ์
(incomplete abortion)
อาการและอาการแสดง
การที่ชิ้นส่วนของการตั้งครรภ์บางส่วนหลุดออกมา โดยที่ยังมีบางส่วนค้างอยู่ในโพรงมดลูก โดยมีเลือดออกทางช่องคลอดมาก ทำให้ช็อกได้ ปวดท้องน้อยมาก ปากมดลูกมักเปิดอยู HF<GA
การพยาบาล
รักษาได้ 2 แบบ คือ surgical และ non surgical การพยาบาล ป้องกันภาวะตกเลือด ให้สารน้ำหรือเลือดทดแทนเลือดที่เสียไปแล้วเอารกออกแล้วค่อยให้เลือดหยุดไหล
6)การแท้งเป็นอาจิณ หรือ การแท้งซ้ำ (habitual หรือ recurrent abortion)
การแท้งเองก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ติดต่อกันตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
5) การแท้งค้าง (missed abortion)
การพยาบาล
ต้องรักษาภาวะเลือดแข็งตัวช้าก่อนแล้วค่อยเอาทารกออก
อาการและอาการแสดง
ทารกเสียงชีวิตค้างอยู่ในโพรงมดลูกเป็นเวลาหลายวัน ปากมดลูกยังปิดอยู่ มดลูกมีขนาดเล็กลงหรือไม่โตตามอายุครรภ์ ทารกค้างอยู่ในมดลูก 4-8 wks. มารดาอาจตกเลือด เลือดแข็งตัวช้า
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนGA 20 wks. หรือน้ำหนักทารกน้อยกว่า 500 กรัม
7) การแท้งติดเชื้อ (septic abortion)
การติดเชื้อในโพรงมดลูกที่เป็นผลมาจากการแท้งอาจมีการอักเสบติดเชื้อเฉพาะที่อวัยวะสืบพันธุ์หรือกระจายไปทั่วร่างกาย
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
อาการและอาการแสดง
1) ปวดท้องน้อย อาการปวดท้องน้อยเฉียบพลัน
2) เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด คล้ำหรือสีน้ำตาลเก่า
4) ปวดร้าวที่หัวไหล่ (shoulder tip pain) เนื่องจากเลือดที่ออกในช่องท้อง ไประคายเคืองที่กระบังลม
3) ขาดประจำเดือน 1-2 เดือน
6) อาการของการตั้งครรภ์ เช่น คัดตึงเต้านม คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายปัสสาวะบ่อย เป็นต้น
5) วิงเวียนศีรษะ เป็นลมหรือหมดสติ
การพยาบาล
1) อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสรีรภาพของการตั้งครรภ์นอกมดลูก แผนการรักษา และการปฏิบัติตน
2) ให้การประคับประคองด้านจิตใจ
6) ในรายที่มีอาการแสดงของภาวะช็อก
3) สังเกตอาการเจ็บปวดในช่องท้อง
4) ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะ
5) เจาะเลือดตรวจหาค่า hemoglobin, hematocrit และหมู่เลือด จัดเตรียมเลือดไว้
7) ในรายที่ได้รับการรักษาด้วยยา Methotrexate
8) ในรายที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
9) ให้คำแนะนำเรื่องการวางแผนครอบครัว
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy)
อาการและอาการแสดง
1) เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
2) เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด
3) ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
4) อาการแพ้ท้องรุนแรง
5) ถุงน้ำรังไข่ (theca lutein ovarian cyst) พบในราย complete mole
6) ครรภ์เป็นพิษ พบในราย complete mole
7) คอพอกเป็นพิษ
8) Trophoblastic embolization
9) U/S พบsnowstom pattern กระจายอยู่ทั่วไปในโพรงมดลูก
การพยาบาล
1) อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับ พยาธิสภาพของการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก แผนการรักษา และการปฏิบัติตน
2) ให้การประคับประคองด้านจิตใจ
4) ดูแลการให้สารน ้า เลือด และยา
3) เตรียมความพร้อมด้านร่างกายและด้านจิตใจในการขูดมดลูก
8) อธิบายให้เข้าใจความสำคัญของการคุมกำเนิด
6) เก็บเนื่อเยื่อที่ได้จากการขูดมดลูกส่งตรวจและติดตามผล
5) ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 15 นาที ในช่วงเวลา 1 ชั่วโมงแรก ทุก 30 นาที ในช่วงเวลา 1 ชั่วโมงต่อมา
ชนิดของการ
ตั้งครรภไ์ข่ปลาอุก
1) ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำทั้งหมด (complete hydatidiform mole)
2) ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำบางส่วน
(partial หรือ incomplete hydatidiform mole)