Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางการพยาบาล - Coggle Diagram
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีการพยาบาลของคิง King’s Theory: Concepts and
Application in Nursing
มโนมัติหลัก
บุคคล
มีความนึกคิดมีความรู้สึกเฉพาะบุคคล
มนุษย์ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อม
มีบทบาทหน้าที่ในสังคม
การรับรู้ของบุคคลทั้งภายในและภายนอกมีผลกระทบต่อกระบวนการปฏิสัมพันธ์
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมภายใน
สิ่งแวดล้อมภายนอก
สุขภาพ
ภาวะสุขภาพ
ความสามารถในการปฎิบัติหน้าที่ตามบทบาทของตนเอง
ภาวะเจ็บป่วย
ร่างกายหรือจิตใจมีความเปลี่ยนแปลงหรือเบี่ยงเบน
การมีความขัดแย้งกับบุคคลในสังคม
การพยาบาล
การปฎิบัติ การตอบสนอง การมีปฎิสัมพันธ์และการสื่อสารที่พยาบาลช่วยเหลือบุคคลให้ได้รับความต้องการและเผชิญกับภาวะเจ็บป่วย
กรอบแนวคิดของคิงประกอบด้วย
ระบบที่มีปฏิสัมพันธ์กัน
ระบบบุคคล
การรับรู้
เป็นกระบวนการจัดระบบและแปลความหมายของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากประสาทสัมผัสและความจำท าให้เกิดความเข้าใจเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งความเข้าใจตามการรับรู้นี้จะย้อมมามีอิทธิพลต่อบุคคลด้วย
บุคคลอาจจะรับรู้ต่างกัน
ตัวตน
บุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและจัดระเบียบตัวตนขึ้น
ประสบการณ์ทางบวกก็จะท าให้อัตตาขยายออก
ทางลบอัตตาก็จะลดขนาดล
ภาพลักษณ์
การรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับรูปกายของตนเองทั้งทางด้านสรีระและจิตสังคม
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เวลา
ระยะระหว่างเหตุการณ์หนึ่งกับอีกเหตุการณ์หนึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการ
ควบคุมการดำเนินชีวิตของบุคคลและมีอิทธิพลระหว่างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลได้
พื้นที่
อบเขตที่อยู่รอบตัวบุคคล ซึ่งบุคลรับรู้ว่าเป็นอาณาบริเวณส่วนตัวที่
ปกป้องไม่ปรารถนาให้คนทั่วไปรุกล้ำ
ระบบระหว่างบุคคล
การมีปฎิสัมพันธ์
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ทั้งสองฝุายจะร่วมกันก าหนดเปูาหมายและวิธีการที่จะไปสู่เปูาหมายที่ตั้งไว
การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล
การส่งสารถึงกันระหว่างผู้ให้และผู้รับสาร
มีประสิทธิภาพสูงสุดในบรรยากาศของการยอมรับนับถือกันตั้งใจที่จะทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน
บทบาท
พฤติกรรมนาต าแหน่งหรืออาชีพที่กระทำตามความคาดหวัง
ความเครียด
ระบบสังคม
ระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจากรอบแนวคิดของคิง
ในกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลผู้รับบริการ ถ้ามีการรับรู้ที่ถูกต้องตรงกันการปฏิสัมพันธ์นั้นย่อมบรรลุเป้าหมาย
ถ้าทั้งพยาบาลและผู้รับบริการมีปฏิสัมพันธ์อาจมีจุดมุ่งหมายต่อกัน ย่อมเกิดความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายหลักที่ตั้งไว
ความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ย่อมเกิดจากการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
ถ้าทั้งพยาบาลและผู้รับบริการบรรลุจุดมุ่งหมายในการปฏิสัมพันธ์ย่อมได้รับทั้งการเจริญเติบโตและพัฒนาการทั้งสองฝ่าย
ถ้าพยาบาลมีความรู้และสามารถติดต่อสื่อสารหรือให้ข้อมูลอย่างเหมาะสมการตั้งจุดมุ่งหมายร่วมกันย่อมเกิดขึ้นได้
การปฏิสัมพันธ์อย่างมีจุดมุ่งหมาย จะดำเนินไปสู่จุดมุ่งหมายได้ ต้องมีการกำหนดจุดมุ่งหมายและเลือกวิธีที่จะใช้ดำเนินไปสู่จุดมุ่งหมายร่วมกันระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการ
ถ้าการรับรู้ตามความคาดหวังกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของพยาบาลและผู้รับบริการตรงกัน การปฏิสัมพันธ์ย่อมบรรลุจุดมุ่งหมาย
ถ้าในกระบวนการปฏิสัมพันธ์มีความขัดแย้งเกิดขึ้นจะทำให้เกิดภาวะเครียด
การรับรู้เกี่ยวกับเวลาและอาณาเขตที่ถูกต้องจะทำให้การปฏิสัมพันธ์บรรลุจุดมุ่งหมาย
การเรียนรู้และเข้าใจอัตตาหรือตัวตนของบุคคลจะช่วยให้พยาบาลให้การช่วยเหลือที่เหมาะสม
การประยุกต์ใช้
เคสที่ 2 ผู้ป่วยใหม่มีอาชีพรับราชการมี
ตำแหน่งระดับสูงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชแต่ผลการบำบัดรักษายังไม่เป็นที่พอใจเนื่องจากผู้ป่วยไม่ร่วมมือในการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล : มีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่าและไม่ได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่นเนื่องจากต้องเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลทางจิต
การประเมินสภาพ
สร้างสัมพันธ์ภาพกับผู้รับบริการ
แลกเปลี่ยนการรับรู้ระหว่างกัน
การวางแผนทางการพยาบาล
ร่วมกันกำหนดเป้าหมายร่วมกับผู้รับบริการ
แสวงหาวิธีปฏิบัติ
ตกลงยอมรับวิธีปฏิบัติร่วมกัน
การปฎิบัติการพยาบาล
ผู้รับบริการปฎิบัติตามเป้าหมายที่วางไว้ร่วมกัน
พยาบาลปฎิบัติตามบทบาทหน้าที่
การประเมินผล
พยาบาลและผู้รับบริการร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติว่าสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดร่วมกันหรือไม่
หากอุปสรรคต่อการปฏิบัติจะช่วยกันหาวิธีขจัดอุปสรรคนั้น
เป็นทฤษฎีที่มีฐานความคิดเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ มาจากทัศนะเกี่ยวการ พยาบาลในรูปแบบการสนับสนุนและ
ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ/ผู้รับบริการ
ทฤษฎีการพยาบาลของเพบพราว Hildegard Peplau
เป็นการสร้างสัมพันธ์ภาะระหว่างบุคคลที่จะทำให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และมีประสิทธิภาพอย่างกว้างไกล
มโนทัศน์หลักของทฤษฎี
คน (Person)
ผู้ซึ่งแสดงออกถึงพฤติกรรม ทั้งด้วยคำพูดและท่าทาง บอกถึงความต้องการเฉพาะตัว ความต้องการการช่วยเหลือในการแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อม (Environment)
จะกำหนดด้วย สถานการณ์ที่มีพยาบาลและผู้รับบริการและระบบการพยาบาล
สุขภาพ (Health)
เป็นความรู้สึกสบาย เพียงพอ และ มีสุขอิสระจากความไม่สุขสบายกายและใจ
การพยาบาล (Nursing)
เป็นสถานการณ์เกิดจาก การที่ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
แนวคิดหลัก
Psychodynamic nursing
พยาบาลพัฒนาความเข้าใจตนเอง อารมณ์ ความคิด พฤติกรรม เพื่่อเข้าใจผู้ป่วย
พยาบาลกับผู้ป่วยจะเคารพซึ่งกันและกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันพยาบาลเอื้อให้ผู้ป่วยได้ค้นหาปัญหา และทำความเข้าใจปัญหาพยาบาลและผู้ป่วย ร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา
nursing
Stranger = คนแปลกหน้า
resource person=ผู้เป็นแหล่งประโยชน์ ให้ข้อมูลที่จำเป็นที่ผู้รับบริการต้องเรียนรู้ และช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจปัญหาของตน
Teacher = ประเมินสิ่งจำเป็นต้องรู้ แล้วค่อยให้ข้อมูลแก่ผู้รับบริการให้เกิดการเรียนรู้
Leader = โดยการมุ่งสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการให้ดำเนินไปสู่เป้าหมายที่วางไว้
Surrogate = ผู้ทดแทน เป็นบุคคลสำคัญของผู้รับบริการที่ขาดหายไป เช่น แม่ เพื่อให้ผู้ป่วยได้เชื่อมโยงกับบุคคลสำคัญในชีวิตของเขา
Technical expert = บทบาทที่สำคัญในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
Phase of nurse-Client relationship
Orientation=เริ่มต้น
Identification=ระบุปัญหาและความต้องการ
exploitation=ระยะแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ
resolution=ระยะปัญหาคลี่คลายและยุติสัมพันธภาพ
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
มโนมติหลัก
การดูแลตนเอง (self-care)
ความพร่องในการดูแลตนเอง (self-care deficit)
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด (therapeutic self-care demand)
ความสามารถในการดูแลตนเอง (self-care agency)
ความสามารถในการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพา (Dependent care agency)
ความสามารถทางการพยาบาล ระบบการพยาบาล (nursing system)
ปัจจัยพื้นฐาน (Basic conditioning factors)
กระบวนทัศน์หลัก
สิ่งแวดล้อม
บุคคลกับสิ่งแวดล้อมไม่สามารถแยกออกจากกันได้ มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ซึ่งมีทั้งสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพทางสังคม วัฒนธรรมและชุมชน
สุขภาพ
คนที่มีสุขภาพดีทำหน้าที่ทั้งด้านสรีระ จิตสังคม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่นและต้องดูแลตนในระดับที่เพียงพอและต่อเนื่อง
การพยาบาล
เป็นการบริการสุขภาพ ที่เน้นความสามารถ
เป็นความต้องการ การดูแลของบุคคล
เป็นการช่วยปฎิบัติกิจกรรมการดูแลแทนบุคคล เมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถกระทำได้และช่วยให้บุคคลสามารถดูแลตนเองได้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง
บุคคล
เป็นผู้มีความรับผิดชอบของตนเองอย่างจงใจ
มีความสามารถในการเรียนรู้และวางแผนในการดูแลตนเอและบุคคลมีลักษณะเป็นองค์รวม
ความสามารถในการปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง
ความสามารถในการคาดคะเน
เป็นความสามารถที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับข้อมูลความหมายและความ
จําเป็นของการกระทํา ปัจจัยภายในภายนอกที่สําคัญเพื่อ
ประเมินสถานการณ์
ความสามารถในการปรับเปลี่ยน
เป็นความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่ตนสามารถและควรกระทํา เพื่อตอบสนองความต้องการและความจําเป็นในการดูแลตนเอง
ความสามารถในการลงมือปฏิบัติ
เป็นความสามารถในการทํากิจกรรมต่างๆรวมถึงการ เตรียมการเพื่อการดูแลตนเอง
Roy's Nursing Theory
การปรับตัว
การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiological mode)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self- concept mode)
อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย
อัตมโนทศัน์ด้านส่วนบุคคล
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (Role function mode)
บทบาทปฐมภูมิ (Primary role)บทบาททุติยภูมิ
(Secondary role) บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role)
ไม่สามารถปรับเปลี่ยนบทบาท
การปรับตัวด้านการพึ่งพาระหว่างกัน (Interdependent mode)
บุคคลที่มีความสำคัญ
ระบบสนับสนุน
ระดับปรับตัว
ระดับปกติ (Integrated level)
ระดับชดเชย (Compensatory level)
ระดับบกพร่อง (Compromised level)