Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.2 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี ภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์ - Coggle…
บทที่4.2 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี
ภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์
ภาวะตกเลือดก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage)
การที่มีเลือดออกทางช่องคลอดหลังจากตั้งครรภ์ได้ 28สัปดาห์ หรือน้ำหนักทารกเกิน 1,000 กรัม จนถึงก่อนเข้าสู่ระยะคลอด
สาเหตุ
สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ (obstetric causes)
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruption placentae)
มดลูกแตก (rupture of the uterus)
การแตกของ vasa previa
การแตกของ marginal sinus
Excessive Bloody show
Placenta membranacea
Placenta circumvallata
สาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ (non obstetric causes)
การแตกของเส้นเลือดขอดบริเวณช่องคลอดและปากช่องคลอด
Polyp หรือ erosion ที่ปากมดลูก
ปากมดลูกหรือผนังช่องคลอดอักเสบ
การฉีกขาดหรือเป็นแผลที่ปากมดลูก หรือผนังช่องคลอด
มะเร็งปากมดลูก
โรคเลือด
การดูแลรักษาภาวะตกเลือดก่อนคลอด
รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อประเมินสภาวะของมารดาและทารก
ห้ามตรวจภายในและห้ามตรวจทางทวารหนัก (No PV, No PR)
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
(Abruptio Placentae)
ประเภทของรกลอกตัวก่อนกำหนด
Concealed หรือ internal hemorrhage คือ รกลอกตัวแล้วเลือดคั่งอยู่หลังรกไม่ออกมาทางช่องคลอดให้เห็นชัดเจน พบได้น้อยกว่า
Mixed หรือ combined hemorrhageเริ่มแรกเป็นชนิด concealed เลือดที่อกจะแทรกอยู่ระหว่างรกกับผนังมดลูก เมื่อเลือดออกมากขึ้นอาจสามารถเซาะแทรก ถุงน้ำคร้ำกับผนังมดลูก แล้วผ่านออกมาทางปากมดลูกได้ (external)
Revealed หรือ external hemorrhage คือ รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออกมาทางปากมดลูกและช่องคลอด พบได้บ่อยกว่า
ชนิดความรุนแรง
Grade 1 (mild or mildly severe)
Grade 2 (moderate or moderately severe)
Grade 3 (severe)
อาการและอาการแสดง : ในรายที่เป็นน้อยและอาการแสดงไม่แน่นอน แต่ในรายที่เป็นมากจะพบเลือดออกทางช่องคลอด มักมีอาการปวดท้องร่วมด้วย
การรักษา
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน และความไม่สมดุลย์ของอีเลคโตรไลท์ เพื่อพยายามประคับประคองส่วนของรกให้ทำหน้าที่ดำเนินต่อไปโดย
ถ้ามีภาวะ consumptive coagulopathy แก้ไขโดยการให้ fresh frozen plasma
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วและอย่างปลอดภัย
พยายามป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ heparin, fibrinogenหรือ antifibrinolytic agent ต่าง ๆ
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta Previa)
การรักษาภาวะรกเกาะต่ำ
การรักษาเบื้องต้น ได้แก่ การสังเกตอาการตกเลือด
การรักษาขั้นต่อไป ต้องพิจารณาลักษณะและปริมาณเลือดที่ออก อายุครรภ์ขนาดและท่าของทารกในครรภ
ถ้าให้การรักษาตามข้อ 1 หรือระหว่างการรักษาข้อ 2 แล้วพบว่าเลือดออกมาก หรือออกนาน หรือเจ็บครรภ์ หรือทารกตายในครรภ์หรืออายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ หรือคะเนนำหนักทารกมากกว่า 2,500 กรัม ให้รักษาแบบ active เพื่อทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
หลังเด็กและรกคลอดแล้ว ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ให้เลือดอย่างพอเพียงและดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ชนิด
Low – lying placenta (placenta previa type 1) หมายถึง รกที่ฝังตัวบริเวณ lower uterine segment ซึ่งขอบรกยังไม่ถึง internal os ของปากมดลูกแต่อยู่ใกล้ชิดมาก
Marginal placenta previa (placenta previa type 2) หมายถึง รกเกาะต่ำชนิดที่ขอบ รกเกาะที่ขอบขอบ internal os พอดี
Total placenta previa (placenta previa type 4) หมายถึง รกเกาะต่ำที่ขอบรกคลุมปิด internal os ทั้งหมด
Partial placenta previa (placenta previa type 3) หมายถึงรกเกาะต่ำชนิดที่ขอบรกเกาะที่ขอบรกคลุมปิด internal os เพียงบางส่วน
ภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture)
อาการและอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา (tetanic contraction)
ปวดท้องน้อยบริเวณเหนือหัวหน่าวอย่างรุนแรง จนกระสับกระส่าย
กดเจ็บบริเวณเหนือหัวหน่าว (suprapubic tenderness)
พบ Bandl’s (pathological retraction) ring
การดูแลรักษา
-แก้ไขสาเหตุของภาวะมดลูกแตกคุมคาม ถ้าคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ก็ควรผ่าท้องทำคลอด
-แก้ไขภาวะช็อค
-Exploratory laparotomy ทุกรายทันที ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตอยู่หรือไม่
-เย็บซ่อมแซมหรือตัดมลูกขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตก
-ให้เลือดทดแทน และในยาปฏิชีวนะเต็มที่
ภาวะแทรกซ้อน
อัตราการตายของมารดาเพิ่มขึ้น
ซึ่งส่วนใหญ่สัมพันธ์กับการเสียเลือด
การติดเชื้อ
ทารกขาดออกซิเจน ซึ่งทำให้เกิด Distress
การตกเลือดทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด (APH & PPH)
ภาวะการแตกของ Vasa Previa
อาการและอาการแสดง
ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
การส่งตรวจถุงน้ำคร่ำ (Amnioscopy
การตรวจภายในเห็นหรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ(Synchronous) กับเสียงหัวใจทารก
เสียงหัวใจของทารกเปลี่ยนแปลงและ U/S
หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
มีเลือดออกทางช่องคลอด
พบมีภาวะเครียด
การรักษา
ต้องนึกถึงภาวะนี้ไว้เสมอในรายรกเกาะต่ำ ครรภ์แฝดและทุกครั้งที่ทำการเจาะถุงน้ำคร่ำ(Amniotomy)
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้c/s
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้วต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงทันทีโดย V/E,F/E,C/Sหรือ ถ้าเด็กตายแล้วปล่อยให้คลอดเอง
ผลกระทบ
ต่อมารดา
1.1 ผลกระทบทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ
1.2 การตกเลือดก่อนคลอดในปริมาณมากส่งผลให้มีภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ต่อทารก
2.1 ทารกแรกเกิดหายใจลำบาก
2.2 ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal distress
2.3 ทารกตายในครรภ์จากการขาดออกซิเจน
2.4 ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ ในรายที่ทารกคลอดก่อนกำหนด