Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือดโลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์ …
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือดโลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
ภาวะโลหิตจาง (anemia) หมายถึง การลดลงอย่างผิดปกติของระดับฮีโมโกลบินจากการสร้างเม็ดเลือด
แดงน้อยลง หรือจากการท าลายเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากผิดปกติ
การจำแนกภาวะโลหิตจางที่พบในระหว่างการตั้งครรภ์
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
โลหิตจางจากการสร้างลดลง (จำนวน reticulocyte ใน peripheral blood ลดลง)
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย (จำนวน reticulocyte ใน peripheral blood เพิ่มขึ้น)
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนดมากน้อยแล้วแต่ความรุนแรงของโรค
อุบัติการณ์ของ Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกติ
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น เริ่มจากหัวใจมีการท างานเพิ่มขึ้นเพื่อให้เลือดไหลเวียนไป
เลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์
ทารกน้ าหนักน้อย เพิ่มอัตราตายปริก าเนิด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การวินิจฉัยโลหิตจาง
การตรวจร่างกาย
เยื่อบุซีด ที่สังเกตได้บ่อยคือ เยื่อบุตา ลิ้น หรือขอบเล็บนิ้วมือ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด, ระดับฮีโมโกลบิน, เม็ดเลือดขาว, เกร็ดเลือด และขนาดเม็ดเลือดแดงโดย
เฉลี่ย(MCV = mean cell volume)
Physiologic Anemia of pregnancy
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
การตกเลือดก่อนคลอด
ธาลัสซีเมีย
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
การติดเชื้อ
Iron deficiency anemia
เป็นภาวะโลหิตจางที่พบในหญิงตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 80 ซึ่งมีสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารที่มี
ธาตุเหล็กไม่เพียงพอ, ธาตุเหล็กที่สะสมไว้ก่อนตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ, การเสียเลือดเรื้อรังจากพยาธิปากขอ
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron stores depletion : เมื่อร่างกายได้รับธาตุเหล็กจากอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการธาตุเหล็ก
Iron deficiency erythropoiesis : เมื่อธาตุเหล็กสะสมหมดสิ้นลง ปริมาณเหล็กในเลือดเริ่มลดลง
ร่างกายตอบสนองโดยกระตุ้นการสร้างโปรตีนที่จับกับเหล็ก (transferrin)
Iron deficiency anemia : เป็นระยะที่ธาตุเหล็กเหลือไม่เพียงพอต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง จนเกิด
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จะตรวจพบ Hb ต่ำลง เม็ดเลือดแดงตัวเล็กและติดสีจาง
การวินิฉัย
ประวัติ ที่บ่งบอกได้ถึงความรุนแรงของโรค เช่น อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ซึม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.1 Primary screening of anemia: CBC (Hb, Hct, MCV)
2.2 Diagnosis of IDA
Microcytic-hypochromic (MCV <80fl, MCHC<30% , MCH <30 mch/L,
RC <4.1 mil/mm3 , PBS)
Evidence of depleted iron stores
การป้องกัน
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กโดยให้ความรู้โภชนศึกษาแก่หญิงที่มารับบริการคลินิก
การรักษา
การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม (ยา Ferrous Sulphate ขนาดเม็ดละ
300 มิลลิกรัม มีธาตุเหล็กผสมอยู่ 60 มิลลิกรัม จึงให้วันละ 1 เม็ด 3 ครั้ง)
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดด า ให้ได้ในกรณีที่ไม่สามรถ tolerate oral iron กินได้น้อย มี
ปัญหาการดูดซึม
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
Thalassemia in pregnancy
ชนิดของ Thalassemia แบ่งตามชนิดของสาย α และ β
α - thalassemia เกิดจากการลดลงของ α - chain โดยความผิดปกติอยู่ที่ยีนบนโครโมโซมคู่ที่ 16
1.1 โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1 (homozygous α -thalassemia1)
1.2 ฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง (hemoglobin H/ Constant Spring) (α -thal1/ Hb Constant
Spring)
1.3 ฮีโมโกลบินเอช (hemoglobin H; Hb H (α -thal 1/ α -thal 2)
1.4 โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง (homozygous hemoglobin Constant Spring) (Hb
Constant Spring/ Hb Constant Spring)
เบต้า- ธาลัสซีเมีย (β – thalassemia ) เกิดจากการลดลงของ β –chain
2.1 โฮโมซัยกัสเบต้าธาลัสซีเมีย (homozygous βo-thalassemia ) (βo-thal/ βo-thal)
2.2 เบต้าธาลัสซีเมีย/ ฮีโมโกลบินอี (βo-thalassemia/hemoglobin E) (βo-thal/ Hb E)
2.3 โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอี (homozygous hemoglobin E; HbE/ Hb)
การแบ่งระดับของความรุนแรงของโรคตามการรักษาดังนี้
Thalassemia major (Transfusion-dependent thalassemia: TDT) คือ กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจำเป็นต้องได้
เลือดเป็นประจำแต่หากให้การรักษาระดับ Hb ให้อยู่ระหว่าง 9.5-10.5 g/dl
Thalassemia intermedia (Non-transfusion-dependent thalassemia: NTDT) คือ กลุ่มที่มีอาการรุนแรงน้อยถึงปานกลาง โดยในภาวะปกติจะมี Hb 7-10 g/dl เมื่อมี stress หรือภาวะติดเชื้อจะทำให้ซีดลง อาจได้รับเลือด
เป็นบางครั้ง
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พ่อและแม่เป็นพาหะของโรคทั้งคู่ บุตรจะมีโอกาสเป็นโรค 1 ใน 4 ไม่เป็นโรค 1 ใน 4 และมีโอกาสเป็นพาหะของ
โรค 2 ใน 4
ถ้าพ่อและแม่เป็นพาหะที่ไม่เหมือนกัน แต่อยู่ในพวกเดียวกัน โอกาสที่ลูกจะเป็นโรคชนิดคอมพา
วนด์เฮเทอโรไซโกต เท่ากับ 1 ใน 4 เป็นพาหะแบบแม่เท่ากับ 1 ใน 4
ผลกระทบของ Thalassemia
ผลต่อมารดา
เกิด Pre-eclampsia
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
ติดเชื้อได้ง่าย
ผลต่อทารก
Fetal distress
น้ำหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายปริกำเนิด
อาการและอาการแสดงของ Thalassemia
เป็นพาหะ อาจมีอาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ท างานได้ตามปกต
เป็นโรค อาจมีอาการเล็กน้อย หรือมีอาการมาก จากภาวะ hemolytic anemia
การคัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก (screening)
การตรวจ Complete blood count: CBC
การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง (red blood cell indices) ประกอบด้วย mean corpuscular volume (MCV)
OFT (osmotic fragility test) เป็นการทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
DCIP (dichlorophenol-indophenol precipitation test) เป็นสารละลายที่สามารถออกซิไดซ์ฮีโมโกลบินได้
ทุกชนิด
การรักษา
1.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ ผลไม้ ผักใบเขียว
ยาควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด
การรักษาความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ในทารกที่เป็น hydrops fetalis
การให้เลือด มีเป้าหมายเพื่อให้เลือดให้พอเพียงที่จะลดการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal)
การตัดม้าม (Splenectomy)
การพยาบาล
ก่อนการตั้งครรภ์ ให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม แก่รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็น thalassemia
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
แนะน าให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
แนะน าการพักผ่อนอย่างเพียงพอและการท ากิจกรรมต่างๆได้ตามปกติยกเว้นเมื่อท าแล้วรู้สึกเหนื่อย
อ่อนเพลียมาก
แนะนำมารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์โดยแบ่งตามสาเหตุ เช่น ขาดธาตุเหล็ก
การพยาบาลในระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง เพื่อลดการทำงานของหัวใจและลดการใช้ออกซิเจน
ดูแลการได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ตรวจประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลการให้สารน้ำ เลือด และยาตามแผนการรักษา
เตรียมช่วยเหลือการคลอด
การพยาบาลในระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด จากการประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือด
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะน าการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
ดูแลป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
การดูแล breast feeding หลังคลอด
นางสาวจิรัฐิติกาล บุญเรือง รหัสนักศึกษา 602701008