Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการตั้งครรภ์, นางสาวชุติมณฑน์…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการตั้งครรภ์
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ :red_flag:
HCG และ Estrogen สูงขึ้น
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน
อาการและอาการแสดง :pencil2:
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน
สามารถทำกิจกรรมได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั้ง/วัน
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 ชั่วโมง
อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
อาเจียนทันทีภายหลังรับประทานอาหาร
อาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
ขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
การวินิจฉัย :green_cross:
ประวัติการตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้
การตรวจร่างกาย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การดูแลรักษา :<3:
ให้ดื่มของอุ่นๆ ทันทีที่ตื่นนอน
แนะนำให้รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
ให้ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน
ให้ยาระบายอ่อนๆ จำพวกสกัดจากพืช
ให้วิตามินและแร่ธาตุ
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ตรวจปัสสาวะหาความถ่วงจำเพาะ คีโตน คลอไรด์ และโปรตีนทุกวัน
ชั่งน้ำหนักตัวทุกวัน
ให้ความเห็นอกเห็นใจและดูแลอย่างใกล้ชิด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :check:
มีโอกาสเกิดภาวะขาดสารน้ำและเกลือแร่ เนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียนเป็นเวลานาน
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
สาเหตุ :red_flag:
ไข่ใบเดียว (Monozygotic)
ไม่ทราบสาเหตุ
ไข่หลายใบ (Polyzygotic)
กรรมพันธุ์
เชื้อชาติ
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร
ยากระตุ้นดารตกไข่
ชนิดของครรภ์แฝด :pen:
Monozygotic (Identical) twins
แฝดแท้
เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ใบเดียวและอสุจิตัวเดียว
มีการแบ่งตัวในระยะเวลาต่างกัน ใน 14 วันหลังปฎิสนธิ
ทารกเป็นเพศเดียวกัน หน้าตาเหมือนกัน
Dizygotic (Fraternal) twins
แฝดเทียม
เกิดจากการผสมของไข่2ใบ อสุจิ 2ตัว
หลังปฎิสนธิเกิดเป็น 2 Embryo
2 Amnion 2 Chorion 2 Placenta
อาการและอาการแสดง :warning:
ขนาดยอดมดลูกโตกว่าปกติ
น้ำหนักเพิ่มมากกว่าการตั้งครรภ์ปกติ
คลำทางหน้าท้องพบส่วนของทารกมากกว่า 1 แห่ง
พบ FHS มากกว่า 1 ตำแหน่ง ห่างกัน> 10 ครั้ง/นาที
การวินิจฉัย :green_cross:
ซักประวัติปัจจัยเสี่ยง
ตรวจร่างกายตรวจครรภ์
LAB
U/S
การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์แฝด :<3:
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์ และมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
ให้สตรีตั้งครรภ์แฝดรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน
ควรหลีกเลี่ยงงานที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ควรงดการทำงานหนัก การเดินทาง
การทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวลมากเกินไป
งดการมีเพศสัมพันธ์และการกระตุ้นเต้านม
การสังเกตอาการผิดปกติ
ควรรับไว่ในรพ.เมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์
ระยะคลอด
ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก
ให้ได้รับสารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดหากลุ่มเลือดเตรียมจองเลือด
ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
ภายหลังทารกคนแรกคลอดแล้ว ควรตรวจหน้าท้องมารดาเพื่อหาส่วนนำของทารกคนที่ 2
คนที่ 2 ท่าปกติ ควรเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อเร่งคลอด แต่ท่าผิดปกติรีบทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ไม่ควรให้ทารกคนที่ 2 คลอดหลังจากทารกคนแรกคลอดนานเกิน 20 นาที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :check:
มีโอกาสเกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากตั้งครรภ์แฝด พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus in utero)
การตายของทารกก่อนคลอด โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
สาเหตุ :red_flag:
โรคที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์
preeclampsia
รกเกาะตํ่า
รกลอกตัวก่อนกำหนด
โรคที่เกิดร่วมกับการตั้งครรภ์
DM
Anemia
โรคติดเชื้อ
ภาวะผิดปกติของทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
การได้รับอุบัติเหตุ
อันตรายจากการคลอด
อาการและอาการแสดง :warning:
หญิงตั้งครรภ์ให้ประวัติว่าเด็กไม่ดิ้น
มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด
น้ำหนักตัวลดลง
เต้านม ดัดตึงน้อยลง นุ่มและเล็กลง
พบระดับมดลูกตํ่ากว่าอายุครรภ์
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้
การวินิจฉัย :green_cross:
การซักประวัติ
รู้สึกทารกไม่ดิ้น
ท้องเล็กลง
น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
ดัดตึงเต้านมน้อยลง
มีสิ่งขับหลั่งสีน้ำตาลไหลออกมาทางช่องคลอด
การตรวจร่างกาย
HF < GA
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
X-rays
Spalding’s sign
Deuel sign
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่
ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ไม่พบ FHR กะโหลกศีรษะแยกออกเป็น 2 เส้น
การให้การรักษา
รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง ประมาณ 90 % ของ DFIU ภายใน 1 เดือนจะเจ็บครรภ์
การทำให้ครรภ์สิ้นสุดลง
ให้ oxytocin โดยให้ syntocinon เข้มข้น
ฉีดนํ้ายาเข้มข้นเข้าถุงนํ้าครํ่าทางหน้าท้อง (amnioinfusion)
ในรายที่มีภาวะเลือดไม่แข็งตัว การใช้ heparin จะได้ผลดี
การพยาบาล :<3:
ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
ประเมินประสบการณ์การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย
ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม การปฏิบัติเกี่ยวกับ DFIU
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :check:
มารดามีโอกาสได้รับอันตรายจากภาวะเลือดไม่แข็งตัวเนื่องจากทารกตายในครรภ์
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labour)
ปัจจัยชักนำ :red_flag:
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
ความผิดปกติของทารกหรือรก
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายโตกว่าปกติ
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ความผิดปกติของมดลูก
ความผิดปกติของรก
โรคร้ายแรงของมารดา
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประเมินอายุครรภ์
อาการเตือนของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ปวดบริเวณเหนือกระดูกหัวเหน่า คล้ายปวดประจำเดือน
ปวดตื้อๆบริเวณส่วนล่างหรือบั้นเอว
ปวดหน่วงลงล่างลักษณะคล้ายกับทารกเคลื่อนต่ำ หรืออาการท้องลด
ปวดบริเวณช่องท้อง
มีมูกออกทางช่องคลอด
ข้อมูลที่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด
ภาวะจิตสังคม
ซักถามถึงสภาพจิตใจ
การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การใช้เครื่องมือตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
แนวทางการรักษาของแพทย์
ตรวจหาข้อห้ามสำหรับดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ
สังเกตภาวะการหดรัดตัวของมดลูก
กลุ่มที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก และไม่มีการบางตัว ของปากมดลูก
วินิจฉัยว่า ไม่ได้เจ็บ ครรภ์ ไม่มีการรักษาใดๆ
กลุ่มที่มีการหดรัดตัวของมดลูก แต่ไม่มีการบางตัว ของปากมดลูก
วินิจฉัยว่า เป็นการเจ็บ ครรภ์ก่อนกำหนด ให้นอนพักอย่างเพียงพอ และควรรักษาด้วยให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
กลุ่มที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก แต่มีการบางตัว ของปากมดลูก
วินิจฉัยว่า เป็น Incompetent cervix รักษาด้วยวิธีการนอนพัก และพิจารณา การผ่าตัดโดยการเย็บผูกปากมดลูก
กลุ่มที่มีการหดรัดตัวของมดลูก และมีการบางตัวของปากมดลูก
วินิจฉัยว่าเป็นการคลอดก่อนกำหนด
ให้ยายับยงั้การหดรัดตัวของมดลูก ( Tocolytics agent )
พิจารณาให้ยาที่ไป กระตุ้นให้ปอดสร้าง สารsurfactant เพื่อลดการเกิดภาวะ RDS
ดูแลการคลอดและทารกหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะขาดออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดามีโอกาสเกิดการคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมีการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
แนวทางการดูแล
ควรตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารก และการหดตัวของมดลูก
ระวังการใช้ยาแก้ปวดและยานอนหลับในขณะเจ็บครรภ์
ลดความกระทบกระเทือนต่อทารกในขณะคลอด โดยตัดฝีเย็บ( episiotomy ) กว้าง ๆ
พิจารณาให้การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
ขณะคลอดควรมีกุมารแพทย์เตรียมพร้อม
เพิ่มการดูแล ในด้านฉุกเฉินไว้ให้พร้อม
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (Premature rupture of membrane)
ปัจจัยเสี่ยง
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
ครรภ์แฝด(twins) และครรภ์แฝดน้ำ(hydramnios)
การทำหัตถการเพื่อการวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกต
รกลอดตัวก่อนกำหนดหรือรกเกาะต่ำ
ปากมดลูกปิดไม่สนิทรือปากมดลูกสั้น
ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีประวัติน้ำไหลออกจากช่องคลอดก่อนเข้าสู่ระยะคลอด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบรูปใบเฟิร์น (Fern test)
Nitrazine paper test
การทดสอบไนบลู
อาการและอาการแสดง
น้ำไหลออกทางช่องคลอด
สัญญาณชีพ เปลี่ยนแปลง
น้ำคร่ำสีขุ่น มีกลิ่นเหม็น
CBC พบ เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นผิดปกติ
กดเจ็บที่มดลูก
U/S น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ หรือลดลง
FHS น้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที
การพยาบาล
การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ กำหนดคลอด
ประวัติมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การตรวจร่างกาย
ประเมินอายุครรภ์เพื่อให้ได้อายุครรภ์ที่แน่นอน
คลำหาส่วนของทารก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
รวบรวมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง(ultrasound)
ผลการทดสอบความ สมบูรณ์ของการทำหน้าที่ของปอดทารกในครรภ์
nitrazine test
ผลการตรวจดูผลึกของน้ำคร่ำที่นำมาป้ายลงบนแผ่สไลด์
แนวทางการรักษา
รายที่มีการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
BT> 38 C กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์และคลอดโดยไม่ต้องคำนึงถึงอายุครรภ์
รายที่ไม่มีการติดเชื้อ
GA < 37 Wks
รักษาแบบประคับประคอง(conservative)
GA 37 Wks ขึ้นไป
ปล่อยคลอด และควรให้คลอดภายใน 24 ชั่วโมง
การให้คอร์ติโคสเตียรอยด์
ีอายุครรภ์ระหว่าง 30-32 สัปดาห์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดาและทารกเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกเป็นระยะเวลานาน
นางสาวชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21