Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๔ ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ ๔ ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ภาวะปริมาณน้ำคร้ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร้ำน้อย
(Oligohydramnios)
มีน้ำคร่้าน้อยกว่า 500มล. หรือ AFI ≤ 5 เซนติเมตร หรือมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 เปอร์เซ็นต์ไทล์ของอายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกบีบหดรัดตัวทารกได้มาก และมักมีพังผืดยึดติดรัดส่วนของร่างกายทารกกับผนัง amnionท้าให้ทารกเกิดความพิการได้ง่าย เช่น เท้าปุก แขนหรือขาโก่ง มีภาวะ Pulmonary hypoplasia เกิดร่วมด้วย pulmonary hypoplasia
การกดทับของมดลูกต่อทารกในครรภ์ อาจเกิดการกดทับที่สายสะดือ เนื่องจากมีน้ำคร่้าไม่เพียงพอในการองรับน ้าหนัก ท้าให้ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน และอัตราการเสียชีวิตสูงทั้งในครรภ์และแรกคลอด
การรักษา
➢ การใส่น้ำเกลือไอโซโทนิค เข้าไปในถุงน้ำคร่้าในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่เกินครั้งละ 200 มล.หรือในปริมาณที่ท้าให้ความดันภายในถุงน้ำคร่้ากลับสู่ปกติ (ค่าความดันภายในถุงน้ำคร่้าเท่ากับ1-14 มิลลิเมตรปรอท)
➢ การรักษาภาวะเจริญเติบโตช้า และตรวจดูความพิการแต่ก้าเนิดของทารกในครรภ์ จากการU/S มีการรักษาภายในครรภ์โดยการใส่สายเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะของทารก ในกรณีที่มีการอุดตันอยู่ต่้าบริเวณท่อปัสสาวะ จะช่วยลดภาวะไตบวมน้ำ และท้าให้ไตทารกไม่เสียมาก
ภาวะน้ำคร้ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ
(Polyhydramnios)
มีจ้านวนน้ำคร่่ามากกว่า 2,000 มล.
หรือการตรวจค่า AFI ≥ 95 เปอร์เซ็นต์ไทล์ของอายุครรภ์หรือ AFI ≥ 25 ซม
การตั้งครรภ์แฝดน้ำมี 2 แบบ
แบบเฉียบพลัน น้ำคร่้าเกิดเร็วมีมากภายใน 2-3 วันซึ่งจะเกิดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 20สัปดาห์ ท้าให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการผิดปกติได้มาก
แบบเรืื้อรัง น้ำคร่้าค่อยๆเพิ่มมากขึ้นใช้เวลานาน 2-3 สัปดาห์ ขึ้นไป มักเกิดเมื่ออายครรภ์ 28
สัปดาห์ขึ้นไป จะมีอาการแน่นอึดอัดเมื่อท้องใหญ่มาก
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา
ระยะคลอด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
สายสะดือย้อย
การคลอดยากเพราะทารกท่าผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
1.ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
คลอดก่อนก้าหนด
ศีรษะเด็กลอย หรือท่าผิดปกติ
ความพิการของทารก
ถุงน้ำคร่้าแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด
รกลอกตัวก่อนก้าหนด
ผลต่อทารก
2.1 ทารกคลอดก่อนก้าหนด
2.2 ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี
2.3 ทารกมีความผิดปกติแต่ก้าเนิด
2.4 อัตราตายปริก้าเนิดสูง
แนวทางการดูแล
ระยะเจ็บครรภ์
การคลอดจะด้าเนินไปตามปกต
เมื่อทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือภาวะสายสะดือย้อยให้จัดการช่วยคลอด โดยc/s
3.การฉีด Methergin หรือ Oxytocin หลังทารกคลอด ป้องกันการตกเลือดหลังคลอดจากรกไม่ลอกตัว หรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังรกคลอด
ระยะตั งครรภ์
ให้นอนพัก หากแน่นอึดอัดท้องให้นอนศีรษะสูง
ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เนื่องจากสูญเสียโปรตีนในการสร้างน้ำคร่้าไปเป็นจ้านวนมาก ไม่ควรงดอาหารเค็มและจ้ากัดน้ำดื่ม เพราะไม่มีประโยชน์และอาจก่อให้เกิดอันตรายได
3.รักษาโรคหรือาวะผิดปกติที่มีร่วม เช่น ให้ยาขับปัสสาวะ สตรีตั้งครรภ์มีอาการบวมมาก ไม่ใช่การลดปริมาณน้ำคร่้า
5.ถ้าพบความผิดปกติของทารก อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์
การให้ยา Indomethacin ขนาด 1.5-3 มก./กก./วัน
ออกฤทธิ์ที่ปอดของทารกในครรภ์
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(Fetal Growth Restriction or
Intrauterine growth restriction)
การจำแนก
Symmetrical IUGR จะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
ซึ่่งความผิดปกติมักเกิดตั้งแต่ระยะ
เริ่มแรกของการตั้งครรภ์
Asymmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อย กว่าส่วนอื่นๆ
Combined type ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก เช่น ภาวะ hypoglycemia, hypocalcemia, polycythemia, hyperbilirubinemia, meconium aspiration syndrome, infection, brain and behavioral development, preterm birth, fetal distress (25-50%) และ fetal deathรวมไปถึงผลกระทบระยะยาว
ผลต่อมารดา เช่น เพิ่มโอกาสในการผ่าตัดคลอดบุตรมากขึ น, ผลกระทบด้านจิตใจ รวมไปถึงภาระค่าใช้จ่ายในการเลี ยงด
แนวทางการดูแลรักษา
• Screening for risk factors สตรีตัั้งครรภ์ทุกราย
• การซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
• ควรมีการตรวจวัด fundal height (FH) ทุกครั้งที่มาทำการฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
• การตรวจติดตาม ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก
• การดูปริมาณน้ำคร่้า
• การ surveillance เช่น NST หรือ BPP
ตั้งงครรภ์เกินกำหนด
Postterm pregnancy
การตั้งครรภ์ที่มีGA 42 wks เต็ม (294 วัน)
หรือมากกว่า โดยเริ่มนับจากวันแรกของ
ประจeเดือนครัhงสุดท้าย LMP
ผลกระทบของ
Morbidity and Mortality
ทารกตัวโตกว่าปกติ (Macrosomia)
ขี้เทาปนในน้ำคร่้า และปัญหาการสำลักขี้เทา
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
• Non stress test (NST)
• Biophysical profile (BPP) หรือ Modified BPP
• Contraction stress test (CST)
• การวัดปริมาณน้ำคร่้าด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การชักน้าการคลอด
การตั้งครรภ์ที มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัจจัยทีทำให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจ้าเดือนเร็วขึ้น
ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป การเรียนรู้วัฒนธรรม
ตะวันตกผ่านสื่อต่างๆ
ปัจจัยทางด้านสังคมประชากร การมีสังคมกับเพื่อนร่วมงานและเพื่อนต่างเพศเร็วขึ้น ท้าให้มี
เพศสัมพันธ์หรือมีการสมรสในขณะที่อายุยังน้อย และนำไปสู่การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว วัยรุ่นที่ขาดความมั่นใจในความเป็นผู้หญิงของตน
adolescents คือช่วงอายุ 15-19 ปี และ
younger adolescents คือช่วงอายุ 10-14 ปี
แนวทางการดูแล
ระยะตั้งครรภ์
การมารับบริการฝากครรภ์ และเน้นการให้ข้อมูล การปรับบทบาทการเป็นมารดา ภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ได้แก่ ภาวะโลหิตจาง ภาวะโภชนาการ การคลอดก่อนก้าหนด โรคร่วมในขณะตั้งครรภ์ เช่น PIH
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลในระยะรอคลอดเหมือนกับมารดารอคลอดในรายอื่น ยกเว้นในกรณีที่มารดามีโรคร่วมในขณะตั้งครรภ์ ให้ความสุขสบายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ระยะหลังคลอด
เน้นการปรับบทบาทในการเลี้ยงบุตร การคุมก้าเนิด
ผลกระทบ
ผลกระทบทางด้านจิตใจ เมื่อมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น
ผลกระทบด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม
ผลกระทบทางด้านร่างกาย
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อบุตร
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
(elderly pregnancy)
มีอายุครบ 35 ปี ก่อนถึงวันกำหนดคลอด
ปัจจัยทีำาให้เกิดการตัั้งครรภ์ในหญิงอายุมาก
ปัจจัยด้านสังคมประชากร ปัจจุบันพบว่าหญิงจ้านวนมากมีเป้าหมายที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ น ท้าให้สตรีกลุ่มนี มีการสมรสและการตั้งครรภ์ล่าช้า
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นท้าให้คู่สมรสจ้านวนมากรอจนกว่าจะมีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคงก่อนที่จะมีบุตร
ปัจจัยด้านการแพทย์ ความก้าวหน้าและความส้าเร็จเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่แก้ไขภาวะมีบุตรยาก ท้าให้หญิงที่มีบุตรยากสามารถตั้งครรภ์ได้เมื่ออายุ
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์การแท้งบุตร การตั้งครรภ์แฝด การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ การคลอดก่อนกำหนดปัญหาการคลอดยาก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
• ความเสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
• ความพิการแต่กำเนิด
• ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
• Macrosomia
• อัตราตายปริกำเนิดพบว่าเพิ่มสูงขึ้นในมารดาที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซมของทารกในครรภ์ โดยได้รับการเจาะถุงน้ำคร่้าหรือการเจาะ
ชิ้นเนื้อรก ได้รับการตรวจ U/S อย่างละเอียดในไตรมาสที่ 2
ระยะคลอด
เฝ้าระวังภาวะคลอดติดขัด การชักนำการคลอดและเฝ้าระวังเป็นพิเศษในกรณีที่มีโรคร่วม เช่น PIH GDM
ระยะหลังคลอด
• เฝ้าระวังเป็นพิเศษในกรณีที่สตรีตั้งครรภ์มีโรคร่วมและให้การดูแลรักษาตามภาวะเหล่านั้น
• วางแผนการตั้งครรภ์ครั้งต่อไปหรือการคุมก้าเนิด โดยต้องพิจารณาจากน้ำหนัก เชื้อชาติ และโรคร่วมต่างๆ
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
การพยาบาล
การประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
การประเมินพัฒนาการของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความรู้พื้นฐาน ประเมินความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การคลอด การเลี้ยงดูบุตร ต้องประเมินความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด
ประเมินการสนับสนุนทางสังคม
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
วงจรความรุนแรง
2.ระยะของการท้าร้ายจะเริ่มทำร้ายหญิงตั้งครรภ์ ท้าให้ได้รับบาดเจ็บ และรู้สึกไร้เรี่ยวแรงหรือหมดพลัง
อดทนต่อความรุนแรงจนกว่าสถานการณ์จบลง
3.ระยะดื่มน้ำผึ้งพระจันทร์สามีจะท้าทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อชดเชยให้กับหญิงตั้งครรภ์ แสดงความส้านึกผิด เห็นอก
เห็นใจและสัญญาว่าจะไม่ท้าร้ายอีก แต่มักจะเพิ่มและรุนแรงมากขึ้น
1.ระยะเริ่มความตึงเครียด สามีจะมีพฤติกรรมไม่เป็นมิตรมากขึ้น มักจะดื่มสุราหรือเสพยาเพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์พยายามที่จะไม่เผชิญหน้าเพื่อให้ฝ่ายชายสงบลง
มารดาที่ใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์
Fetal alcohol syndrome (FAS)
• ด้านการเจริญเติบโต: ทารกเจริญเติบโตช้าในขณะอยู่ในครรภ์; เมื่อคลอดออกมาก็เจริญเติบโตช้า
• ระบบประสาท: ทารกจะมีอาการสั่น , ดูดนมไม่ดี ,กล้ามเนื้อเกร็งหรืออ่อนปวกเปียก พัฒนาการช้า
• การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง (ต้องมีอย่างน้อย2ข้อ): ตาแคบ, หนังตาตก,คางเล็ก ศีรษะเล็ก ตาเล็ก ศีรษะเล็ก หน้าเล็ก,ริมฝีปากบนบางและกว้าง, จมูกสั้นและเชิด,ไม่มีร่องจากจมูกถึงริมฝีปาก
• อาการอื่นที่พบได้: ความผิดปกติของหัวใจ, กระดูกสันหลังผิดปกติ,แขนขาผิดปกติ, ระบบขับถ่ายผิดปกติ
• FAS จะเกิดในผู้ที่ดื่มสุรามากกว่า 3 หน่วยสุราต่อวัน
การสูบบุหรี
• ทารกในครรภ์ไม่เจริญเติบโต IUGR พบว่าน้ำหนักทารกที่ลดสัมพันธ์กับปริมาณบุหรี่ที่สูบ
• คลอดก่อนกำหนด
• แท้ง
• อัตราการตั้งครรภ์ลดลงประมาณร้อยละ 50
• อัตราการเสียชีวิตของทารก sudden infant death syndrome (SIDS) สูงกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
nicotine และ caffeine
▪ มารดาที่สูบบุหรี่เป็นสาเหตุที่ทำให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
▪ มารดาที่ดื่มกาแฟมากกว่า 7-8 แก้วต่อวัน จะพบอัตราของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าปกติการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด และการตายคลอดเพิ่มขึ้น