Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนของหมู่บ้านพงสะตือ, ผู้จัดทำ :…
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนของหมู่บ้านพงสะตือ
1. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ประกอบด้วย
สถานที่บริการสาธารณะในชุมชน
สาธารณูปโภคในชุมชน
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ประชาชนกลุ่มต่างๆที่อาศัยในชุมชน
สถานที่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
แผนที่ชุมชน เพื่อแสดงอาณาเขตกิจกรรม หรือกลุ่มต่างๆในชุชน
แผนที่ร่างกาย เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลโดยใช้ภาพร่างกายเท่าคนจริง
การจัดเวทีประชาคม
หมู่บ้านพงสะตือ มีการจัดเวทีประชาคมอย่างเป็นทางการโดยมีทีมสภาผู้นำมาจัดประชุมให้กับประชาชน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นเตรียมการ
จากการศึกษาข้อมูลชุมชน พบว่า มีประชาชนส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความความดันโลหิตสูง ไขมันร่วมถึงโรคหลอดเลือดสมอง และประชาชนมีพฤติกรรมการรับประทาน คือ รับประทานอาหารรสจัด รสเค็มเป็นส่วนใหญ่
มีระยะเวลาในการจัดเวทีประชมคมอย่างชัดเจน
การกําหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนที่อยู่ในหมู่บ้านพงสะตือ
การกําหนดทีมดําเนินงาน โดยมีผู้ใหญ่และทีมผู้นำสภาเป็นแกนหลัก
ประเด็นเนื้อหาในการจัดเวทีประชาคม คือ ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นของประชาชนในชุมชน
ขั้นดำเนินการ
สร้างความคุ้นเคยกับประชาชน
เเจ้งวัตถุประสงค์และข้อตกลงกัน
กําหนดความหวังร่วมกัน
การให้การศึกษาชุมชน
ค้นหาปัญหาร่วมกัน
ค้นหาความหวังและโอกาส
ค้นหาสิ่งที่ดีในชุมชน
ค้นหาเพื่อนร่วมพัฒนา
กําหนดเป้าหมายการพัฒนา
ร่วมกันวางแผน วางโครงการ
เลือกกลุ่มแกนนำ คือ จัดตั้งทีมผู้ในสภาของชุมชนเพื่อรับผิดชอบดําเนินตามโครงการ
ขั้นประเมินผลและติดตามผล
ผู้ดําเนินโครงการประเมินจุดเด่นจุดด้อยข้อบกพร่อง
เจ้าหน้าที่ชุมชนให้กําลังใจแก่กลุ่มแกนนําคือ ทีมผู้นำสภา
เจ้าหน้าที่ ผู้นําชุมชน ช่วยกันจัดเวทีประชาคมอีกครั้ง
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็งของหมู่บ้านพงสะตือ
สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเองได้
สมาชิกของชุมชนพร้อมกันที่จะร่วมกันจัดการปัญหาของตนเองและชุมชน
ชุมชนพงสะตือมีแผนของชุมชนที่ประกอบด้วยการพัฒนาทุกๆด้านของชุมชนที่มุ่งการพึ่งตนเองและเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกทุกคน
มีผู้ใหญ่บ้านที่เข้มแข็งและมีแกนนำทำงานเป็นทีมและมีศักยภาพในการทำงาน
2. การเลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประชาชนในหมู่บ้านพงสะตือ มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนสารเคมี
ประชาชนในชุมชมมีการปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์และนำมาบริโภคเอง
หมู่บ้านพงสะตือมีการสร้างแกนนำสร้างตัวแทนกลุ่มโดยมีสภาผู้นำของหมู่บ้านให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพรวมถึงการดูแลสุขภาพของตนเอง
3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลตนเอง
2.การเสริมสร้างความเป็นผู้นำ
หมู่บ้านพงสะตือมีแกนนำหรือผู้นำสภา ซึ่งเป็นแกนนำในการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพให้กับประชาชน
3.การเสริมสร้างการทำงานเป็นกลุ่มและเครือข่าย
ประชาชนมีการรวมกลุ่มกันมีส่วนร่วมในการประเมินสถานการณ์ของชุมชนกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมคิดตัดสินใจ
4. การเสริมสร้างพลังอำนาจให้ประชาชน
ประชาชนในหมู่บ้านพงสะตือที่สามารถดูแลสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นก็จะได้เป็นบุคคลต้นแบบของชุมชน
มีโรงพยาบาลตรอนและเครือค่ายอื่นๆคอยกำกับดูแล
ทีมเครือข่ายของชุมชนคอยให้กำลังใจและชื่นชมประชาชน เมื่อประชาชนสามารถทำได้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตนได้ตั้งไว้
1.การเสริมสร้างการเรียนรู้
โรงพยาบาลตรอนและทีมสภาผู้นำให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพรวมถึงสาเหตุของการเกิดโรคเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเอง
หมู่บ้านพงสะตือแหล่งเรียนรู้ของหมู่บ้านโดยมีแปลงปลูกพืช ผักสวนครัว ซึ่งเป็นเกษตรอินทรีย์ของหมู่บ้าน
4. การสาธารณสุขมูลฐาน
งานสุขศึกษา
สภาผู้นำของหมู่บ้านเป็นผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง
งานโภชนาการ
ลดรับประทานอาหารรสจัด รสเค็ม และส่งเสริมการรับประทานผักที่ชาวบ้านปลูกเอง
ส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์เพื่อนำมาประกอบอาหาร
อนามัยสิ่งแวดล้อม
ให้ความรู้เกี่ยวกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อมกับประชาชน
มีการวางแผนแก้ปัญหาของชุมชนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ส่งเสริมและให้ความรู้เรื่องสารเคมีในการเกษตร
5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ทั้งภายในและภายนอกชุมชน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จภายใน
ประชาชนในหมู่บ้านพงสะตือคิดได้เองโดยเขาคิดว่า"เขาควรจะปฏิบัติตัวอย่างไรที่จะลดความเสี่ยงและลดอาการของโรคได้"
ปัจจัยแห่งความสำเร็จภายนอก
มีผู้ที่การขับเคลื่อนประชาชนของหมู่บ้านพงสะตือคอยให้คำแนะนำและมีการกำกับติดตามดูแล
โรงพยาบาลเป็นหน่วยงานของสาธารสุข
หน่วยงานเกษตรของอำเภอและองค์การบริหารส่วนตำบล
หน่วยงานการศึกษา
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้จัดทำ
: นางสาววรศิรา หลุมสิน รหัส 601901067 เลขที่ 64