Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ เครื่องมือพิเศษ โดย Biochemical…
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
เครื่องมือพิเศษ โดย Biochemical Assessment
การเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ (Amniocentesis)
:star: ข้อบ่งชี้
1.ตรวจหาความผิดปกติ
ทางโครโมโซม
Down’s syndrome
อายุ ≥ 35 ปี
ตรวจพบทารกเจริญ
เติบโตชา้ในครรภ์
เคยคลอดบุตรที่มี
โครโมโซมผิดปกติ
ตรวจพบความพิการของทารก
มีประวัติแท้งเป็นอาจิณ
2.การค้นหาโรคที่
ถ่ายทอดพันธุกรรม
โรคโลหิตจาง
ธาลัสซีเมีย
3.ตรวจหาความ
สมบูรณ์ของปอด
L/S Ratio
ขาดสาร surfactant ทารกจะเกิดRDS
ค่าปกติ
GA 26 – 34 wks ค่า L/S = 1 : 1
GA 34 – 36 wks ค่า L/S > 2 ปอดสมบูรณ์เต็มที่เกิดภาวะ RDS น้อย
Shake test
:check: 2 หลอดทดลอง
เกิดฟองอากาศนาน 15 นาทีทั้ง 2 หลอด แสดงว่าได้ผลบวก เกิดภาวะ RDS น้อย
:check: 5 หลอดทดลอง
มีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรก แสดงว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
:star:ช่วงเวลาในการเจาะน้ำคร่ำ
GA 9-14 wks
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
จากน้ำคร่ำน้อย
GA 16-18 wks
เป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุด
:star:การพยาบาล
ก่อนการเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
ให้ลงนามในใบอนุญาตการยอมรับการตรวจ
เตรียมผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะ
ทำความสะอาดหน้าท้องโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรค
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาทางพันธุกรรม
ขณะเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
อยู่กับผู้รับบริการขณะแพทย์ทำหัตถการ
สังเกตอาการผิดปกติ
ภายหลังการเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
ดูแลให้ผู้รับบริการพักผ่อนประมาณ 30 นาที –1 ชั่วโมง
ฟัง FHS ทุก15 นาทีจนครบ 1 ชั่วโมง
ถ้าปวดแผลก็กินยาแก้ปวด
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนหน้าท้อง 1 - 3 วันหลังเจาะ
งดมีเพศสมัพนัธ์ภายหลงัการเจาะ 7 วนั
:star:การแปลผล
รายงานเป็นแบบแผนและลักษณะของโครโมโซมทั้ง 23 คู่ของทารกในครรภ์ ว่าครบจำนวนหรือไม่
ใช้เวลาประมาณ 2-4 สัปดาห์จึงจะทราบผล
:star:หลักการ
เจาะดูดน้ำคร่ำไปตรวจวิเคราะห์
ทางด้าน molecular genetic เพื่อดูว่าทารกในครรภ์เป็นโรคหรือไม่
การตรวจหาระดับ estriol
:red_flag:ในปัสสาวะ
ข้อบ่งชี้
มีภาวะ GDM
มีภาวะ HT
GA เกินกำหนด
วิธีการตรวจ
เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เริ่ม GA 28 wks และตรวจ 3 ครั้ง/wks จนGAครบกำหนด
เก็บในช่วงเวลาเดียวกันเสมอ
การแปลผล
ค่า estriol ลดลงฉับพลันอย่างมีนัยสำคัญ
< 4 มิลลิกรัมใน 24 ชั่วโมง ทารกอาจตายในครรภ์
< ค่าเฉลี่ยเกินกว่าร้อยละ 50 ทารกอยู่ในภาวะอันตราย
ค่า estriol ต่ำอย่างเรื้อรัง
< 2 SD ของค่าเฉลี่ยทุกครั้งที่ตรวจ
ค่า estriol ค่อยๆ ลดต่ำลงเรื่อย ๆ
:red_flag:ใน plasma
วิธีการตรวจ
การเก็บตัวอย่างเลือดดำ 2 ml
เจาะเลือดในเวลาเดียวกันทุกครั้ง
การแปลผล
ค่า unconjugated estriol ใน plasma สูง พบในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน ครรภ์แฝด
ค่า unconjugated estriol ใน plasma ที่ต่ำ พบในสตรีตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มี ต่อมหมวกไตฝ่อ หรือ anencephaly
การตรวจหา alpha-fetoprotien (MSAFP)
ตรวจเลือดของมารดาเพื่อประเมินความพิการแต่กำเนิดและความผิดปกติ ทางโครโมโซมของทารก
ระดับ MSAFP จะตรวจพบได้เมื่อ GA 7 wks
เวลาที่เหมาะสมในการตรวจ คือGA 16 – 18 wks
ระดับ MSAFP สูงผิดปกติ
พบในทารก open neural tube defect
congenital nephrosis
esophageal atresia
Turner’s syndrome
ระดับ MSAFP ต่ำผิดปกติ
Down’s syndrome
การเก็บเนื้อรกส่งตรวจ (CVS)
:pencil2: ความหมาย
การตัดเนื้อ chorion มาตรวจโดยผ่านทางปากมดลูกหรือผ่านทางผนังหน้าท้องโดยอาศัยคลื่นความถี่สูงในการหาตำแหน่ง
:pencil2: ข้อบ่งชี้
มารดาตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
การตรวจดูความผิดปกติของ Hb ในทารกก่อนคลอด
การตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย
:pencil2: บทบาทของ
การพยาบาล
1.อธิบายวัตถุประสงค์ วิธีการทำ และการปฏิบัติตนภายหลังทำ
3.วัดสัญญาณชีพ
2.จัดเตรียมอุปกรณ์
4.ให้กำลังใจ
5.จัดเตรียมภาชนะใส่พร้อมฉลากที่เขียนชื่อ สกุล HN วัน เวลาที่เจาะ
6.ช่วยแพทย์เก็บเนื้อรก >10-30 ml
7.ภายหลังตรวจเสร็จ ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์นอนพัก
วัดสัญญาณชีพ
แนะนำงดทำงานหนักอย่างน้อย 1 วัน งดการมีเพศสัมพันธ์ ภายใน 1- 2 wks
:pencil2: ภาวะแทรกซ้อน
การแท้ง
การติดเชื้อ
ภาวะทารกพิการแต่กำเนิด Limb reduction defects
ถุงน้ำคร่ำรั่ว
การเจาะเลือดจากสายสะดือ
ทารก (Cordocentesis)
:black_flag: ความหมาย
การใช้เครื่องมือใส่ผ่าน
ผนังหน้าท้องมารดาและใช้เข็มเจาะเลือดจากสายสะดือทารกในครรภ์
ทำได้ตั้งแต่GA 18 wksขึ้นไป
:black_flag: ข้อบ่งชี้
การวินิจฉัยโรค
ทารกก่อนคลอด
โรคธาลัสซีเมีย
มารดาอายุมากที่มาฝากครรภ์ช้า
ตรวจพบความผิดปกติทางโครโมโซม
การประเมิน
ทารกในครรภ์
ความผิดปกติทางโครโมโซม
Red cell isoimmunization
ภาวะทารกบวมน้ำ
โรคหัดเยอรมัน
ครรภ์แฝดน้ำ
:black_flag: ภาวะแทรกซ้อน
การเสียเลือดมากเกินไป
ภาวะหัวใจทารกเต้นช้า
การคลอดก่อนกำหนด
ภาวะติดเชื้อ
:black_flag: บทบาทการพยาบาล
การประเมินภาวะเลือดออกจากสายสะดือ
การฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารก
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ตรวจสอบการดิ้นของทารก
ประเมินสภาพทารกในครรภ์