Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด, 8549…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
ความหมาย :<3:
การลดลงอย่างผิดปกติของระดับฮีโมโกลบินจากการสร้างเม็ดเลือด แดงน้อยลง หรือจากการท าลายเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากผิดปกติ
การจำแนกภาวะโลหิตจางที่พบ :red_flag:
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
Physiologic anemia of pregnancy
โลหิตจางเนื่องมาจาก hemodilution ของ hypersplenism
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
กระทบต่อเม็ดเลือดแดงเป็นหลัก
โลหิตจางจากการขาดเหล็ก
Pure red cell aplasia
กระทบต่อทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง
Megaloblastic anemia
Aplastic anemia
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
Sickle cell anemia
Thalassemia
Autoimmune hemolytic anemia
Hemolytic anemia
การเสียเลือด
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก :explode:
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนด
Pregnancy induce hypertension
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกติ
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อย
ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การวินิจฉัยโลหิตจาง :star:
การตรวจร่างกาย
เยื่อบุซีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด
MCV = mean cell volume
Iron deficiency anemia :check:
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron stores depletion
Iron deficiency erythropoiesis
Iron deficiency anemia
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการอ่อนเพลีย
เหนื่อยง่าย
ซึม
ภาวะเลือดออกผิดปกติ
การผ่าตัดล าไส้
ความผิดปกติของทางเดินอาหาร
ประวัติ การมีบุตรหลายคน
การตั้งครรภ์วัยรุ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Primary screening of anemia: CBC (Hb, Hct, MCV)
Diagnosis of IDA
Microcytic-hypochromic (MCV <80fl
MCHC<30%
MCH <30 mch/L
RC <4.1 mil/mm3
PBS
Evidence of depleted iron stores
Low serum iron < 30 mcg/dl
TIBC > 350 mcg/dl
Low transferrin saturation < 16 %
Low serum ferritin <10-15 mcg/L
การป้องกัน
แนะน าให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก
การรักษา
ให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
Thalassemia in pregnancy :check:
ชนิดของ Thalassemia
α - thalassemia โครโมโซมคู่ที่ 16
homozygous α -thalassemia1
่มีความรุนแรงมากที่สุด
มักเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือภายหลังคลอด
hemoglobin H/ Constant Spring
รุนแรงปานกลาง
เจริญเติบโตช้าไม่สมวัย
มีอาการซีด ตาเหลือง ตับ และม้ามโต
รักษาโดยการให้เลือด
hemoglobin H
มีอาการซีดเล็กน้อยถึงปานกลาง
ไม่จำเป็นต้องให้เลือดยกเว้นมีการติดเชื้อ
homozygous hemoglobin Constant Spring
คลำพบม้ามโต เล็กน้อย
β – thalassemia
โครโมโซมคู่ที่ 11
homozygous βo-thalassemia
่มี อาการรุนแรงมาก
กระดูกขยายกว้างทำให้รูปใบหน้าเปลี่ยน
จำเป็นต้องให้เลือดบ่อย
ให้ยาขับธาตุเหล็กทุกวัน
อาจจะเสียชีวิตก่อนอายุ 10-20 ปี
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
βo-thalassemia/hemoglobin E
อาการรุนแรงปานกลางถึงมาก
เริ่มป่วย ตั้งแต่อายุ 1-6 ปี มีภาวะโลหิตจาง
มีรูปร่างและใบหน้าเป็นธาลัสซีเมีย
ท้องโต
เติบโตช้า ลักษณะเหมือนเด็กขาดอาหาร
อุบัติการณ์สูงสุดในภาคอีสาน
homozygous hemoglobin E
มีอาการซีดเพียงเล็กน้อย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พ่อและแม่เป็นพาหะของโรคทั้งคู่
่เป็นโรค 1 ใน 4
มีโอกาสเป็นพาหะของ โรค 2 ใน 4
ไม่เป็นโรค 1 ใน 4
พ่อหรือแม่เป็นพาหะ เพียงคนเดียว
โอกาสที่ลูกจะเป็นพาหะเท่ากับ 2 ใน 4 หรือ ครึ่งต่อครึ่ง
ไม่มีลูกคนใดเป็นโรค
พ่อและแม่เป็นพาหะที่ไม่เหมือนกัน แต่อยู่ในพวกเดียวกัน
อกาสที่ลูกจะเป็นโรคชนิดคอมพาวนด์เฮเทอโรไซโกต เท่ากับ 1 ใน 4
พาหะแบบพ่อแม่เท่ากับ 1 ใน 4
พ่อหรือแม่ฝ่ายหนึ่งเป็นโรคชนิดโฮโมไซโกต หรือคอมพาวนด์เฮเทอโรไซโกต อีกฝ่ายหนึ่งเป็นพาหะ
โอกาสที่ลูกจะเป็นพาหะเท่ากับ 2 ใน 4
เป็นโรคเท่ากับ 2 ใน 4
ผลกระทบของ Thalassemia
มารดา
Pre-eclampsia
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
ติดเชื้อได้ง่าย
ทารก
Fetal distress
น้ำหนักน้อย
การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายปริกำเนิด
การคัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก (screening)
การตรวจ Complete blood count
การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง
MCV
MCH
OFT (osmotic fragility test)
DCIP
การตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
ตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน HbA2
ตรวจ Polymerase chain reaction (PCR) for a-thal 1 และ a-thal 2
chorionic villous sampling
cordocentesis
Doppler ultrasound
การเจาะน้ำคร่ำ
การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรดโฟลิกมาก
ให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด
การรักษาความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ในทารกที่เป็น hydrops fetalis
การให้เลือด ควรให้เลือดทุกรายในรูปPRC แต่ไม่ควรเกิน 1 unit เนื่องจาก 1 unit มีเหล็กประมาณ 200-250 mg
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal) ทางSCหรือIV
การตัดม้าม (Splenectomy)
การพยาบาล :<3:
ก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม
การประเมินอัตราเสี่ยง
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราเสี่ยง
การวินิจฉัยโรค
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค
การให้ข้อมูล เกี่ยวกับทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยงการมีบุตรเป็นโรค
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
แนะนำการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำมารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์
แนะนำการประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
แนะนำการป้องกันการติดเชื้อ
ให้ธาตุเหล็กเสริมตามปกติ และให้ Folic acid เพิ่มรับประทานกรดโฟลิกเสริม 5 มก.ต่อวัน
ยุติการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง
ดูแลการได้รับสารน้ำและอาหาร
ตรวจประเมินสัญญาณชีพทุก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลการให้สารน้ำ เลือด และยา
เตรียมช่วยเหลือการคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
ดูแลป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
การดูแล breast feeding หลังคลอด
:
:
นางสาวชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21 : :smiley: