Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด - Coggle Diagram
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
จำแนกภาวะโลหิตจางที่พบในระหว่างการตั้งครรภ์
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด
และหลังคลอดสูงกว่าปกติ
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนด
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อย เพิ่มอัตราตายปริกำเนิด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การวินิจฉัยโลหิตจาง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
Physiologic Anemia of pregnancy
สาเหตุ
การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
การตกเลือดก่อนคลอด
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
ธาลัสซีเมีย
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
การติดเชื้อ
Iron deficiency anemia
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Iron deficiency erythropoiesis
Iron deficiency anemia
Iron stores depletion
การวินิฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประวัติ
ร้อยละ 80 ซึ่งมีสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารที่มี
ธาตุเหล็กไม่เพียงพอ, ธาตุเหล็กที่สะสมไว้ก่อนตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ, การเสียเลือดเรื้อรังจากพยาธิปากขอ
การป้องกัน
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์
การรักษา
การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม
Thalassemia in pregnancy
Thalassemia แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
β – thalassemia
α - thalassemia
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบยีนด้อย
(autosomal recessive)
ผลกระทบของ Thalassemia
ผลต่อทารก :
น้ำหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
Fetal distress
ทารกตายปริกำเนิด
ผลต่อมารดา
มีอาการทางโรคหัวใจ
ติดเชื้อได้ง่าย
เสี่ยงต่อการตกเลือด
เกิด Pre-eclampsia
การรักษา
การให้เลือด
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย ยาที่ใช้คือ desferrioxamine (desferal)
ควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1 เม็ด
การตัดม้าม (Splenectomy)
ต้องการอาหารมากกว่าธรรมดา
การดูแลในระยะคลอดและหลังคลอดที่สำคัญ