Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของผู้สูงอายุ ในระบบทางเดินอาหาร, image, image, image, image,…
ความผิดปกติของผู้สูงอายุ
ในระบบทางเดินอาหาร
ภาวะท้องผูก
สาเหตุ
3.ออกกำลังกายไม่เพียงพอ
ร่างกายไม่เคลื่อนไหว
4.เกิดความเครียด วิตกกังวล อารมณ์ซึมเศร้า
2.ได้รับอาหารและน้ำไม่เพียงพอ
5.พยาธิสภาพ/ความผิดปกติของร่างกาย
ทางกายภาพของลำไส้
การใช้ยา
ยากลุ่ม Opiates
ยาต้านซึมเศร้า
ยากันชัก
ยาลดกรดที่มีเกลืออลูมิเนียม
ระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
1.ไม่ได้ฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา
อาการ
ถ่ายอุจจาระออกมาแห้งแข็ง ขับถ่ายลำบาก
ต้องออกแรงเบ่งมาก ถ่ายไม่สุด
เกิดความเจ็บปวด
อึดอัด แน่นท้อง ท้องอืด
ภาวะแทรกซ้อน
ริดสีดวง (Haemorrhoids)
เกิดแผลรอยแยกขอบทวารหนัก
(Anal fissure)
ปวดหลังเรื้อรัง (Chronic back pain)
ไส้เลื่อน (Hernia)
ถุงผนังลำไส้อักเสบ (Diverticular disease)
ปัสสาวะไม่ออก (Urinary retention)
ไส้ตรงปลิ้น (Rectal prolapse)
ความหมาย
เป็นความยากลำบากในการขับถ่ายอุจจาระ
มีการขับถ่ายน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์
ลักษณะของอุจจาระแข็ง ทำให้มีท้องอืด และปวดท้อง
แนวทางการดูแล
1.แนะนำดื่มน้ำอย่างเพียงพอ 6-8 แก้วต่อวัน ทำให้อุจจาระในลำไส้มีการเคลื่อนไหวได้ดี
2.แนะนำรับประทานอาหารที่มีกากใย เช่น ผักผลไม้เนื่องจากกากใยของอาหารเหล่านี้มี
ผลทำให้ลำไส้สามารถเคลื่อนไหวได้มากขึ้น
ฝึกสุขนิสัยขับถ่ายให้เป็นเวลาเช่น ขับถ่ายช่วงเวลาเช้า ทุกวัน ตลอดจนจัดสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นส่วนตัว ในการเข้า ห้องน้ำหรือการขับถ่าย
แนะนำออกกำลังกายเป็นประจำ
กรณีที่ผู้สูงอายุไม่มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวออก กำลังกายได้ตามความเหมาะสม
หากกรณีที่ผู้สูงอายุไม่สามารถขับถ่ายได้เองผู้ดูแล ต้องช่วยเหลือในการขับถ่ายบนเตียง เช่น การใช้หม้อนอน ควร ออกกำลังกายบนเตียงตามความเหมาะสมโดยคำนึงถึงความเป็น
5.แนะนำใช้ยาระบายที่เป็นยาสามัญ ประจำบ้าน เช่น ยาระบายที่จะช่วย ให้สามารถขับถ่ายอุจจาระได้ดีขึ้น ช่วย ทำให้อุจจาระอ่อนตัว ยาระบายอื่น ๆ เช่น ยาเม็ดมะขามแขก ฯลฯ ควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต้คำแนะนำ ของแพทย์เพราะมีผลข้างเคียงต่อการเคลื่อนไหวของลำไส้หากได้ รับยานี้อย่างต่อเนื่อง
6.สวนอุจจาระและการใช้ยาเหน็บในกรณีที่มีภาวะท้องผูก และมีอาการแน่น อึดอัดท้องอย่างมาก ซึ่งการใช้อุปกรณ์สอดใส่ ต่าง ๆ ต้องระมัดระวังการระคายเคือง หรือเกิดแผลบริเวณทวารหนัก ได้
7.สมุนไพรแก้อาการท้องผูก
มะขามแขก
ข้อควรระวัง ควรใช้มะขามแขกเพื่อแก้อาการท้องผูกเป็นครั้งคราว ไม่ควรรับประทานมะขามแขกติดต่อกันนาน เพราะจะทำให้ขาดธาตุโปแตสเซียม และทำลายระบบประสาทที่ควบคุมการบีบตัวของลำไส้
แมงลัก
เมือกจะช่วยหล่อลื่นและช่วยให้อุจจาระอ่อนตัว
ขี้เหล็ก
กล้วยน้ำว้า
ภาวะท้องเสีย
สาเหตุ
สาเหตุทางจิตใจ อารมณ์
ยา
ยาปฏิชีวนะ
ยาลดกรด
ยาถ่าย
ยารักษาโรคเกาต์
เชื้อโรคหรือสารพิษของเชื้อโรค
แบคทีเรีย
โปรโตซัว
ไวรัส
หนอนพยาธิ
พืชพิษ
เห็ดพิษ
กลอย
สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร
ปรอท
ตะกั่ว
สารหนู
ยาฆ่าแมลง
โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน
ความผิดปกติของการดูดซึมอาหารที่ลำไส้
เนื่องจากผู้สูงอายุมีการทำงานของ
ลำไส้ลดลง
อาการ
ปวดท้อง
เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้
สูญเสียอาหาร น้ำ อิเล็คโทรลัยท์
ทำให้ ร่างกายอ่อนเพลย น้ำหนักลด มีอาการของการขาดน้ำ
ในรายที่อุจจาระร่วงอย่างรุนแรง
ทำให้ร่างกายสูญเสียไบคาร์บอเนต เกิดภาวะกรดเกินในร่างกายได้
ภาวะแทรกซ้อน
อาการที่สำคัญคือ ภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการช็อก ภาวะเลือดเป็นกรด ภาวะเกลือแร่ในร่างกายต่ำ
ความหมาย
การเพิ่มจำนวนครั้งในการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระเป็นน้ำเหลวหรือมีมูกปน
โดยถือว่า ถ่ายเป้นน้ำเหลว 3 ครั้ง ในเวลา 12 ชั่วโมงหรือถ่ายเป้นน้ำปนมูกเพียงครั้งเดียว
แนวทางการดูแล
1.การช่วยเหลือในการขับถ่ายอุจจาระ
2.ช่วยผู้ป่วยให้ถ่ายได้ทันและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ป่วย
3.ช่วยเหลือให้ถ่ายในท่าที่เหมาะสม
4.ให้โอกาสผู้ป่วยได้อยู่ลำพัง แต่ไม่
ทอดทิ้งผู้ป่วย
5.ช่วยเหลือให้ได้รับการชำระล้างทำความสะอาดหลังการถ่ายอุจจาระ
6.สังเกตและบันทึกเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
เพื่อประเมินถึงความรุนแรงของอาการ เก็บอุจจาระส่งตรวจ
7.บันทึกปริมาณน้ำที่ได้รับ/ที่ขับออกจากร่างกาย
ประเมินสมดุลน้ำและเกลือแร่เป็นระยะ
8.เฝ้าระวัง ป้องกันและช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
9.ทดแทนน้ำและเลือแร่ให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
10.การพักผ่อน
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนในบรรยากาศที่ผ่อนคลาย สิ่งแวดล้อมที่สะอาด
11.อาหาร
ในระยะแรกมักให้งดอาหาร ให้ดื่มเฉพาะน้ำหรือเกลือแร่ซึ่งสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย
เมื่ออาการดีขึ้นเริ่มให้อาหารอ่อน ไม่มีกากมาก ไม่มีไขมัน
12.สอนวิธีปฏิบัติตัวเกี่ยวกับสุขอนามัย
เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ หรือการกลับมาเป็นอีก
เรื่องทำความสะอาดร่างกาย
การทำความสะอาดภายหลังการถ่ายอุจจาระ
การล้างมือให้สะอาดหลังถ่าย ก่อนและหลังการรับประทานอาหาร
นางสาวณัฐธิดา บางทราย เลขที่25 ห้องB