Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือ…
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
ฺBiophysical Assessment
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
4.การวินิจฉัยครรภ์แฝด
5.การตรวจวินิจฉัยสาเหตุการมีเลือดออกทางชอ่งคลอดซึ่งอาจจะมีสาเหตุจากการแท้ง การตั้งครรภ์นอกมดลูก การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
3.การตรวจวินิจฉัยความพิการแต่กําเนิดของทารก
6.การวินิจฉัยเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
2.ติดตามการเจรญิเติบโตของทารก จากค่า parameter ต่างๆเป็นระยะเพื่อดูการเจรญิเติบโต
7.การตรวจตําแหน่งความผิดปกติและภาพของรก บอกตําแหน่งที่รกเกาะ
1.วินิจจฉัยอายุครรภ์ การกําหนดและยืนยันอายุครรภ์ที่แน่นอน ความเชื่อ ถือได้สูงสูดอายุครรภ์ 7- 10 สัปดาห์ เนื่องจากช่วงนี้ทารกเจรญิเติบโตอย่างรวดเรว็
8.ใช้ศึกษาหลอดเลือดหลักของทารกเพื่อติดตามการเจริญเติบโต
Amniotic fluid volume measurement
วิธีที่ 1 วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำ (Single deepest pocket, SDP หรือ maximum vertical pocket, MVP)
เป็นการวัดความลึกของน้ำคร่ำ บรเิวณทที่ลึกที่สุดในแนวตั้ง
โดยตั้งหัวตรวจตั้งฉากกับหน้าท้องมารดา โดยที่ระยะทางที่วัดไม่ให้มีสายสะดือหรือส่วนต่างๆ ของทารกในครรภ์ขวางอยู่ ค่าปกติ คือ 2.1 – 8 ซม.
วิธีที่ 2 วัดดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ (Amniotic fluid index: AFI)
เป็นการประเมินโดยการแบ่งหน้าท้องมารดาเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กันโดยอาศัยแนวของสะดือและ linear nigra
และวัดความลึกของน้ำคร่ำ บรเิวณที่ลึกที่สุดในแนวตั้งของแต่ละส่วน และนําค่าที่ได้มาบวกกันทั้ง 4 ค่า รวมกันค่าปกติ คือ 5 – 24 ซม.
การฉายรังสีเอ๊กซเรย์ (Radiography)
รังสีวินิจฉัยเพื่อดูขนาดของทารกการเจรญิเติบโตของทารกและตําแหน่งของรก แต่เนื่องจากรังสีมีอันตรายต่อทารกในครรภ์โดยเฉพาะ ใน 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ดังนั้นการใช้รังสีวินิจฉัยจึงทําได้เมื่ออายุครรภ์ 20สัปดาห์ขึ้นไป
การตรวจ Biophysical profile (BPP)
เป็นการประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยอาศัยหลักการว่า เมื่อทารกขาดออกซิเจน ศูนย์ควบคุมการทํางานต่าง ๆ ของรา่งกายที่ระบบประสาทส่วนกลางก็ขาดออกซิเจนด้วย ทําให้การทํางานของร่างกายบกพร่อง ซึ่งจะแสดงออกมาจากการตรวจต่าง ๆ
Parameters 5
อย่างที่นํามาประเมิน
การเกร็งตัวของทารก
(fetal tone: FT)
การที่หัวใจของทารกตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว (reactive fetal heart rate: FHR)
ปริมาณของน้ำคร่ำ
(amniotic fluid volum: AFV)
การเคลื่อนไหวของทารก
(fetal movement: FM)
การเคลื่อนไหวที่แสดงออกถึงการหายใจของทารก (fetal breathing movement: FBM)
การศึกษาส่วนใหญ่แนะนําให้ทำตั้งแต่ อายุครรภ์ 28-30 สัปดาหขึ้นไป
ทําสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง
หรือทำทุกวันขึ้นกับข้อบ่งชี้หรือ ความเสี่ยงในแต่ละ ราย
ฺBiochemical Assessment
การตรวจหาระดับ estriol
1.การตรวจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ
การตรวจหาระดับ estriol ใน plasma
การเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
(Amniocentesis)
เป็นการเจาะดูดน้ำคร่ำ ซึ่งอยู่ล้อมรอบตัวทารกผ่านทางหน้าท้องมารดา เข้าสู่โพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ ในน้ำคร่ำจะมีเซลล์ amniocyte ซึ่งมี DNA เหมือนของทารก
การค้นหาโรคที่ถ่ายทอดพันธุกรรม เช่น โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การนําน้ำคร่ำมาวิเคราะห์ DNA หาระดับของ alphafetoprotein (AFP) และ acetylcholinesterase
1.การตรวจหาความผิดปกติทางโครโมโซม เช่น Down’s syndrome
ตรวจพบทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มารดาที่มีอายุ 35 ปี
มารดาที่ประวัติแท้งเป็นอาจิณ
มารดาที่เคยคลอดบุตรที่มีโครโมโซมผิดปกติ
ตรวจหาความสมบูรณ์ของปอด
การตรวจหาค่า L/S ratio (Lecithin Sphingomyelin Ratio)
Shake Test
จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปนใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
การตรวจหา alpha-fetoprotien (maternal serum alpha-fetoprotiemn: MSAFP)
เป็นการตรวจเลือดของมารดาเพื่อประเมินความพิการแต่กําเนิดและความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก
การเก็บเนื้อรกส่งตรวจ(Chorionic Villi Sampling: CVS)
การตัดเนื้อ chorion มาตรวจโดยผ่านทางปากมดลูกหรือผ่านทางผนังหน้าท้องโดยอาศัยคลื่นความถี่สูงในการหาตําแหน่ง
ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการทํา คือ ไตรมาสแรก ระหวา่งอายุครรภ์ 8 - 11 สัปดาห์
ข้อบ่งชี้ในนการทำ
การตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย
การตรวจดูความผิดปกติของฮีโมโกลบินในทารกก่อนคลอด
มารดาตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก
(Cordocentesis หรือ Fetal blood sampling: FBS)
การใช้เครอื่งมือใส่ผ่านผนังหน้าท้องมารดาและใช้เข็มเจาะเลือดจากสายสะดือทารกในครรภ์ การทํา cordocentesis
ทําได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 18 สัปดาหขึ้นไป หากทําอายุน้อยกว่านี้สามารถทําได้แต่จะพบ ภาวะแทรกซ้อนและอัตราการแท้งจากการทํา สูงขึ้น
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ
cordocentesis
1.การวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด
มารดาอายุมากที่มาฝากครรภ์ช้า
ความผิดปกติที่พบจากการตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงที่สงสัยความผิดปกติทางโครโมโซม
ตรวจดูความผิดปกติของระบบเลือด เช่น ภาวะเลือดออกผิดปกติ โรคธาลัสซีเมีย
การประเมินทารกในครรภ์
Red cell isoimmunization
ภาวะทารกบวมน้ำ
ความผิดปกติทางโครโมโซมในทารก
ครรภ์แฝดน้ำ
Electronic Fetal Monitoring
การตรวจ Electronic fetal heart rate monitoringในระยะก่อนคลอด
1.Non Stress test (NST)
และคงอยู่นานเท่ากับหรือมากกวา่ 15 วินาที
ตรวจการตอบสนองของอัตราการเต้นของหวั ใจทารกในครรภ์เมื่อทารกในครรภ์ดิ้น หรือเคลื่อนไหว จะตอบสนองโดยเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เรียกว่า Acceleration คือเพิ่มจาก baseline เท่ากับหรือมากกว่า 15 ครั้ง /นาที
การแปลผล
1.Reactive
2.Non-reactive
3.Uninterpretable
4.Suspicious
2.Contraction stress test (CST) หรือ Oxytocin challenge test (OCT)
เมื่อมดลูกหดรัดตัวจะทําให้ทารกขาดเลือดหรือ ออกซิเจนชั่วคราว ถ้าทารกมีปรมิาณออกซิเจนสํารองเพียงพอจะสามารถทนต่อภาวะขาดออกซิเจน ถ้าทารกมีออกซิเจนสํารองไม่เพียงพอจะเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ข้อห้ามของการทํา CST
2.รกเกาะต่ำ
3.การตั้งครรภ์ที่เกรงว่าจะเกิดการเจ็บครรภ์
คลอดก่อนกําหนด เช่น ครรภ์แฝด, ปากมดลูกไม่แข็งแรง, ถุงน้ำแตกก่อนกําหนด
1.เคยผ่าตัดคลอดชนิด Classical cesarean section
ชนิดการตรวจ
1.Internal or direct monitoring
เป็นการตรวจจับคลื่นไฟฟ้าที่เกิดจาการเต้นของหัวใจทารกโดยตรง
2 External monitoring
เป็นการตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่องมือ Doppler ที่วางไว้ผนังหน้าท้อง
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034