Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร ตับ ทางเดินน้ำดีและตับอ่อน, image, image,…
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร ตับ ทางเดินน้ำดีและตับอ่อน
ระบบทางเดิน (Gastrointestinal system) เรียกย่อว่าระบบ GI เป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะในร่างกาย มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร การดูดซึม และการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
The digestive system consists of the esophagus, stomach, small intestine, large intestine, anus, liver, gallbladder, bile duct and pancreas.
The salivary glands, pancreas, liver, gallbladder are classified as assistive organs by acting in the production of gastric juice.
โรคระบบทางเดินอาหาร (Digestive disease หรือ Gastrointestinal disease หรือย่อว่า GI disease)Is a disorder that occurs in tissues or organs in the digestive system Is a disease that can be repeated many times May occur acute or chronic. Diseases occurring in this system tend to experience inflammation, infection, and systemic fluctuations. Including being a malignant cancer in various organs
4.Liver disorders (Liver)
4.1ตับแข็ง (Cirrhosis)
ลักษณะเฉพาะ
สร้างคอลลาเจนและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแทรกในเนื้อตับเพิ่มมากขึ้นจนกลายเป็นพังผืด
มีการสร้างเซลล์ใหม่ที่มีลักษณะผิดปกติมาทดแทน ทำให้เนื้อตับโตและแข็ง
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มต้นไม่มีอาการ
บางรายอ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
เหนื่อยง่าย
คลื่นไส้
เป็นมากขึ้นจะเริ่มแสดงอาการชัดเจน เป็นผลมาจากการทำงานของตับที่เสียไป
ภาวะแทรกซ้อน
1.ภาวะความดันเลือดในตับสูง
ภาวะที่หลอดเลือด Portal vein มีแรงดันสูง
มีการซึมผ่านของน้ำออกจากหลอดเลือดมาอยู่ในช่องท้อง
ภาวะท้องมานน้ำ
หลอดเลือดดำในหลอดอาหารโป่งพอง
หลอดเลือดดำที่ทวารหนักโป่งพอง
2.ภาวะท้องมานน้ำ
เกิดจากความดันเลือดในตับสูง
3.หลอดเลือดดำในหลอดอาหารโป่งพอง
เกิดจากภาวะความดันเลือดในตับสูง
เลือดออกในกระเพาะอาหารได้ง่าย
โรคสมองจากโรคตับ
เซลล์ตับถูกทำลาย
การเผาผลาญสารอาหารโปรตีนลดลง
มีการการสับสน ความจำเสื่อม รู้สึกตัวลดลง
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติอาการ
2.ตรวจร่างกาย
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจดูค่าการทำงานของตับ
4.การตรวจพิเศษ
4.2ตับอักเสบ (Hepatitis)
ตับอักเสบจากเชื้อไวรัส
1.ตับอักเสบชนิดเอ
เป็นโรคที่พบบ่อย
เป็นชนิดที่ไม่ทำให้เกิดตับอักเสบเรื้อรัง หรือ มะเร็งของตับ
อาการ
ระยะแรกผู้ป่วยจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อทั่วๆไป
ต่อมาจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
2.ตับอักเสบชนิดบี
ลักษณะอาการ
ตรวจพบเชื้อในเลือดและสิ่งขับหลั่งทุกชนิดของร่างกาย
ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน
มีลักษณะการติดเชื้อ 2 แบบ
1.การติดเชื้อเฉียบพลัน
พบบ่อยที่สุด แบ่งอาการได้ 4 ระยะ
1.ระยะฟักตัว ใช้เวลา 50-150 วัน
2.ระยะอาการก่อนเหลือง มีระยะเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ มีอาการคล้ายไข้หวัด อาหารไม่ย่อยโดยเฉพาะไขมัน ปวดและกดเจ็บบริเวณท้องด้านขวา ตับโต ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดกล้ามเนื้อ มีผื่นขึ้น
3.ระยะเหลือง ใช้เวลาตั้งแต่ 2-6 สัปดาห์ มีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม อุจจาระคล้ายสีดิน
4.ระยะหลังจากอาการเหลือง ระยะนี้เริ่มตั้งแต่อาการตัวและตาเหลืองลดลงอย่างช้าสุด 2-6 สัปดาห์ ระยะนี้อาจมีอาการกลับมาเป็นซ้ำ แต่ไม่รุนแรง ผู้ป่วยจะหายเป็นปกติภายใน 6 เดือน
2.การติดเชื้อแบบเรื้องรัง
ผู้ป่วยที่เป็นพาหะมีโอกาสหายขาดเพียงร้อยละ 1-2 ส่วน
จะพบพยาธิสภาพและการดำเนินโรคได้หลายแบบ รวมถึงการเสียชีวิตจากมะเร็งของตับ
3.ไวรัสตับอักเสบซี
พบการติดเชื้อหลังจากได้รับเลือด
มีระยะฟักตัว 6-12 สัปดาห์
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการและไม่มีภาวะดีซ่าน
การอักเสบจะเป็นแบบเรื้อรังและกลายเป็นตับอักเสบเรื้อรังและตับแข็ง
4.ไวรัสตับอักเสบอี
ติดต่อโดยการรับประทานอาหาร
มีระยะฟักตัวนานกว่าไวรัสตับอักเสบประมาณ 35-40 วัน
มีอัตราการตายสูงในสตรีตั้งครรภ์
5.ความผิดปกติของทางเดินน้ำดี (Biliary tract )
5.1นิ่วในถุงน้ำดี
ลักษณะ
เกิดจากภาวะไม่สมดุลของสารประกอบในน้ำดี
พบบ่อยในคนอายุ 40 ปี เพศหญิง อ้วนและมีบุตรแล้ว หรือ รับประทานยาคุมกำเนิดฮอร์โมนชนิดเอสโตรเจน
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ
หรือมีอาการบางอย่างโดยไม่จำเป็นต้องมีครบทุกอาการ
ท้องอืด แน่นท้องหลังรับประทานอาการโดยเฉพาะอาการที่มีไขมัน
ปวดท้องใต้ชายโครงขวาเป็นครั้งคราว
ปวดท้องรุนแรงและปวดร้าวไปถึงสะบักด้านขวา
มีไข้สูงเฉียบพลันในกรณีที่มีอาการอักเสบของถุงน้ำดีอย่างเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ ประเมินจากอาการที่เกิดขึ้น
2.ตรวจร่างกาย การคลำถุงน้ำดี
3.การตรวจพิเศษ
การทำอัลตราซาวด์
การตรวจด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ MRI
5.2ถุงน้ำดีอักเสบ
ลักษณะ
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากมีนิ่วอุดตันในท่อถุงน้ำดี
ส่งผลให้แรงดันในถุงน้ำดีเพิ่มสูงขึ้น
การอักเสบของถุงน้ำดีเฉียบพลัน และเรื้อรัง
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลันจะมีอาการปวดท้องที่ใต้ชายโครงขวาอย่างรุนแรง
การวินิจฉัยโรค
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย โดยการตรวจท้องส่วนด้านบนขวาว่าบวมหรือกดเจ็บหรือไม่
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดเพื่อดูการทำงานของตับอ่อน
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
การตรวจการทำงานของตับ
การตรวจหาการติดเชื้อหรือสัญญาณของปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวกับถุงน้ำดี
4.การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยภาพสแกน
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน
1.ความผิดปกติของหลอดอาหาร :red_cross:
1.1 ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital abnormalities) หลอดอาหารตีบตัน(esophageal atresia : EA) และหลอดอาหารเชื่อมต่อกับหลอมลมคอ (trachea-esophageal fisyula :TEF)
This condition is rare. And symptoms occur shortly after birth If there is a complete narrowing of the esophagus Will affect swallowing If the esophagus connects to the trachea, it will choke the milk into the lungs.
ชนิดที่พบบ่อยคือ ชนิดที่มีการตีบตันของหลอดอาหารส่วนบน และส่วนล่างจะเชื่อมกับหลอดลม
1.2 การตีบตันของหลอดอาหาร(Esophageal obstruction) : อคาเลเซีย (achalasia)
เป็นความผิดปกติของการบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร
การตึงตัวของกล้ามเนื้อ LES (LES tone) เพิ่มขึ้น
ไม่มีการบีบตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหารเป็นคลื่น ๆ (Aperistalsis) เพื่อดันให้อาหารเคลื่อนที่
การคลายตัวที่ไม่สมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารตอนล่าง (Lower esophageal sphincter;LES)
ส่งผลให้กลืนอาหารลำบาก(Dysphagia) มีการไหลย้อนของอาหารออกมา(Regurgitation) และมีการขยายขนาดของหลอดอาหาร
พยาธิกำเนิด
จำนวนของเซลล์ประสาทสั่งการ(Motor neuron) ที่ผนังหลอดอาหารลดลงหรืออาจจะไม่มี Motor neuron นอกจากนี้ Achalasia ที่เกิดจากการติดเชื้อ Trypanosoma cruzi จะมีการทำลาย Motor neuron ที่ผนังหลอดอาหาร ซึ่งเรียกว่า โรคซากาส (Chagas disease)
พยาธิสภาพอื่นที่ทำให้หลอดอาหารตีบแคบ
Esophageal stenosis เกิดจากการหนาตัวขึ้นของผนังหลอดอาหาร
Esophageal webs are the esophagus.
Esophageal ring หรือ Schatzki rings ลักษณะคล้ายกับ Webs แต่เป็นการยื่นของผนังหลอดอาหารส่วนเยื่อหมอกหรือเนื้เยื่อกล้ามเนื้อ เข้ามาในหลอดอาหาร
อาการและอาการแสดง
ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่อุดตัน
การขยายตัวและหดเกร็งของหลอดอาหาร
ทำให้ปวดบริเวณที่อุดตัน
รู้สึกอึดอัดไม่สบายหลังกลืนอาหาร 2-4 วินาที
การอุดตันอยู่ส่วนบนของหลอดอาหาร
รู้สึกอึดอัดหลังกลืนอาหาร 10-15 วินาที
การอุดตันส่วนล่างของหลอดอาหาร
อาการสำคัญ
กลืนลำบาก
ขย้อนอาหาร
อาเจียน
น้ำหนักลด
สำลักอาหารจนปวดอักเสบ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
3.การตรวจพิเศษ
การส่องกล้องตรวจในทางเดินอาหารส่วนต้นเพื่อตรวจลักษณะของเยื่อเมือกของหลอดอาหาร
การเอกซเรย์แบบกลืนแป้งแบเรียมเพื่อตรวจหลอดอาหาร
การตรวจความดันภายในหลอดอาหาร
2.การตรวจร่างกาย
1.3 การยืนหรือโป่งเป็นถุงของผนังหลอดอาหาร (Esophageal diverticulum)
เกิดจากความอ่อนแอของผนังกล้ามเนื้อหลอดอาหาร
ทำให้มีการยื่นหรือโป่งของผนังหลอดอาหารทั้งหมดหรือบางส่วนออกไป
ส่งผลให้การกลืนหรือเคลื่อนย้ายอาหารผ่านหลอดอาหารลดลง
อาหารที่กลืนลงไปติดค้างอยู่ตามผนังที่โป่งเป็นถุงนี้
หากพบที่หลอดอาหารส่วนบน เรียกว่า Pharyngeal (Zenker) diverticulum
หากพบที่หลอดอาหารส่วนล่าง ๆ ลงมาเรียก Traction diverticulum
หากพบที่หลอดอาหารส่วนล่าง ๆ เหนือต่อEsophageal sphincter เรียกว่า Epiphrenic diverticulum
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีความรู้สึกว่าอาหารติดค้างอยู่ที่หลอดอาหารก่อนที่จะเคลื่อนตัวลงสู่กระเพาะ
1.4 หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis)
1.4.1 การฉีดขาดเป็นแผลยาวที่หลอดอาหาร (Esophageal laceration)
เป็นการฉีกขาดตรงตำแหน่งรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร
เรียกว่า Mallory-Weiss tear
มักเกิดจากการอาเจียนที่รุนแรงโดยเฉพาะในรายที่มีภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ
อาจทำให้มีอาการอาเจียนเป็นเลือดที่รุนแรง (Massive hematemesis)
การอักเสบเป็นแผลของหลอดอาหารอาจจะทะลุเข้าอวัยวะคั่นระหว่างปอด (Madiastinum)
เยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum)
1.4.2 หลอดอาหารอักเสบจากการหลย้อนของกรดในกระเพาะอาหารขึ้นมาที่หลอดอาหาร (Gastroesophageal reflux disease; GERD)
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่มีอาการในหลอดอาหาร (Esophageal syndrome)
ปวดแสบปวด ร้อนบริเวณหน้าอกและลิ้นปี่ (Heart burn)
มีอาการจุกแน่นในคอหรือหน้าอกคล้ายอาหารไม่ย่อย (Dyspepsia)
รู้สึกคล้ายมีก้อนอยู่ ในคอ
กลืนลําบาก
เป็นมากจะเจ็บคอมากจนกลืนอาหารแทบจะไม่ได้
คลื่นไส้
มีอาการเรอเปรี้ยว หรือรู้สึกถึงรสขมของน้ําดี
กลุ่มที่มีอาการนอกหลอดอาหาร (Extra-esophageal syndrome)
เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้า
ไอเรื้อรัง ไอหรือรู้สึกสําลักน้ำลาย
หายใจไม่ออกในเวลา กลางคืนจนอาจทําให้ต้องตื่นกลางดึก
เจ็บหน้าอกที่ไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจ (Non-cardiac chest pain)
เป็นโรคปอดอักเสบ
หอบหืดจากกรดไหลย้อนเข้าไประคายเคืองหลอดลม
หอบหืดจากกรดไหลย้อนเข้าไประคายเคืองหลอดลม
การวินิจฉัย
การซักประวัติ จากอาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษ
การส่องกล้อง/ตรวจในทางเดินอาหารส่วนต้น
การตรวจวัดกรดในหลอดอาหารตลอดเวลา 24 ชั่วโมง (24 hr esophageal pH monitoring)
การตรวจวัดกรดและการไหลย้อนของน้ำย่อย จากกระเพาะอาหารเข้ามาในหลอดอาหารตลอด 24 ชั่วโมง (Multichannel intraluminal impedance-pH monitoring)
การตรวจการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร (Esophageal manometry)
การเอกซเรย์แบบกลืนแป้งแบเรียม
1.5 ภาวะการอักเสบเรื้อรังของหลอดอาหาร (Barrett esophagus; BE)
เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคกรดไหลย้อนงเป็นผลจากหลอด อาหารส่วนล่างสัมผัสน้ำย่อยจากกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง
ภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา
เป็นแผล (Ulceration)
การตีบจากพังผืด (Stricture)
มีความเสี่ยงตอการเกิด มะเร็งหลอดอาหาร (Esophageal Cancer)
การนินิจฉัยโรค
การตรวจพิเศษ
1 การส่องกล้องตรวจในทางเดินอาหารส่วนต้น โดยจะพบ Columnar epithelium อยู่ที่หลอดอาหารส่วนปลาย
2 การตรวจทางพยาธิวิทยาของชิ้นเนื้อจะพบ Columnar epithelium มี Specialized intestinal metaplasia
1.6 หลอดเลือดดําบริเวณหลอดอาหารส่วนปลายโป่งพอง (Esophageal variceal; EV)
เป็นภาวะที่มีการโป่งพองของหลอดเลือดที่ชั้นใต้เยื่อเมือก (Submucosal) ของหลอดอาหารส่วนปลาย
พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีตับแข็ง (Cirrhosis) เนื่องจากเซลล์ของตับถูกแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อพังผืด ซึ่ง เนื้อเยื่อพังผืดเหล่านี้จะขัดขวางการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงตับ ทําให้หลอดเลือดดําพอร์ทอล (Portal vein) ที่เชื่อมต่อระหวางลําไส้และตับมีความดันสูงขึ้น (Portal hypertension) เลือดใน หลอดเลือดดําพอร์ทัลไม่สามารถผ่านตับเข้าสู่หัวใจทางหลอดเลือดเวนาคาวาด้านล่าง (Inferior vena cave) แบบปกติได้ ดังนั้นความดันที่สูงนี้จึงดันเลือดที่จะไหลไปที่หัวใจให้ไหลผ่านหลอดเลือดอื่นแทน การผ่านที่ตับ ซึ่งส่งผลให้มีการขยายของหลอดเลือดในเยื่อบุกระเพาะอาหารและหลอดอาหาร เกิดเป็นภาวะเส้นเลือดขอดหรือเส้นเลือดโป่งพอง (Varices)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
อาเจียนเป็นเลือดสด (Hematemesis)
เกิดจากการรั่วหรือแตกของหลอดเลือดดําที่โป่งพองในหลอดอาหาร (Ruptured esophageal varices)
ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตต่ํา
ใจสั่น
หายใจเร็ว
หมดสติ
อาการแสดง ของภาวะช็อกจากการเสียเลือด
เลือดออกเรื้อรังจากหลอดเลือดที่โป่งพองอย่างช้า ๆ อาจ ทําให้เกิดภาวะซีด (Anemia) หรือถ่ายอุจาระเป็นสีดํา (Melena)
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ประวัติเป็นโรคตับแข็ง
การดื่มสุราเป็นเวลานาน
การตรวจร่างกาย
อาการแสดงของโรคตับ
อาการของเลือดออกใน ทางเดินอาหารส่วนบน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจการทํางานของตับ (Liver function test)
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (Complete blood count; CBC)
การประเมินหน้าที่ของตับในการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือด (Coagulogram)
การตรวจพิเศษ
การส่องกล้องตรวจหลอดอาหาร (esophagoscopy)
การส่อง กล้องตรวจในทางเดินอาหารส่วนต้น
การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร (endoscopy)
1.7 มะเร็งหลอดอาหาร (Esophageal cancer)
เป็นมะเร็งที่พบในผู้ใหญ่ที่มีอายุ 55-65 ปี พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
พบอุบัติการณ์สูงในประชากรที่อาศัยในอเมริกาเหนือและยุโรป ตะวันตก
เกิดจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง
สิ่งแวดล้อม
อาหารที่รับประทาน
มะเร็งหลอดอาหารแบ่งตามชนิดของเซลล์ได้ 2 ชนิด
Adenocarcinoma
ีปจจัยเสี่ยงคือ ภาวะกรดไหลย้อน (GERD)
สงผลใหเกิดภาวะ Barrett’s esophagus
มีการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุหลอดอาหารจาก Squamous epithelium ไปเป็น Columnar epithelium
Squamous cell carcinoma
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งหลอดอาหารชนิด Squamous cell carcinoma
เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มหรือรับประทานอาหารร้อน ๆ
รับประทานอาหารไม่เพียงพอ
ช่องปากสกปรก
รับประทานอาหารที่มีสารไนโตรซามีน (Nitrosamine)
สูบบุหรี
ดื่มสุราเรื้อรัง
ได้รับยาที่มีฤทธิ์กัดหลอดอาหาร
ระยะของโรคมะเร็งหลอดอาหาร
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่ก้อนมะเร็งลุกลามออกมาทะลุเนื้อเยื่อของหลอดอาหาร และมีการ ลุกลามไปต่อมน้ําเหลืองใกล้เคียง
Stage 4 is the stage where the cancer has spread into nearby organs. Or have spread to the gland Lymphatic distances or spread to other organs that are far away
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่ก้อนมะเร็งลุกลามมากขึ้น ลุกลามไปตอมน้ําเหลืองใกลเคียง
ระยะที่ 1 เป็นระยะที่ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็ก และยังอยู่เฉพาะในตัวหลอดอาหาร
อาการและอาการแสดง
อาการเริ่มแรกของมะเร็งหลอดอาหาร คือ อาการกลืนลําบาก โดย อาการจะมากขึ้นเรื่อย ๆเนื่องจากก้อนเนื้อโตขึ้น และอุดกั้นช่องภายในหลอดอาหาร
อาการอื่น ๆ ที่อาจพบร่วมด้วย ได้แก่ อาการกลืนแล้วเจ็บ อาเจียนเป็นเลือด
ถ้ามีการลุกลามของโรค ผู้ป่วย อาจจะมีอาการไอเป็นเลือด อุจจาระสีดํา เสียงแหบ น้ําหนักลดลง
ถ้ามี Fistula เชื่อมกับทางเดิน หายใจจะทําให้มีการสําลักเข้าหลอดลมได้เกิดปอดอักเสบแบบ Aspiration pneumonia ได้
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจด้วยเอกซเรย์
การเอกซเรย์แบบกลืนแป้งแบเรียม
เอกซเรย์คอมพิวเตอร
4.การตรวจพิเศษ
การส่องกล้องตรวจในทางเดินอาหารส่วนต้น
การตรวจทางพยาธิวิทยา
6.Disorders of the pancreas (Pancreas)
6.1ตับอ่อนอักเสบ
เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของเซลล์ตับอ่อน
แบ่งออกไป 2 ชนิด
1.ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
มีสาเหตุจากท่อตับอ่อนที่เข้าสู่ลำไส้เล็กเกิดการอุดกั้น
ทำให้น้ำย่อยจากตับอ่อนไหลย้อนกลับเข้าทำลายเซลล์ตับอ่อน
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงและเกิดขึ้นในทันทีทันใด อาจร้าวไปที่หลัง อาการปวดมักจะเป็นอยู่ประมาณ 2-3 วัน คลื่นไส้ อาเจียน และมีไข้
การวินิจฉัย
1.ประเมินจากการซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.การตรวจพิเศษ
การเจาะเลือดตรวจระดับเอนไซม์ amylase และ lipase รวมทั้งการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
2.ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
เกิดจากการอักเสบของตับอ่อน เป็นๆ หายๆ
ทำให้เนื้อเยื่อตับอ่อนถูกทำลายและแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อเส้นใย
อาการ
ปวดท้องแบบ เป็นๆ หายๆ หรือปวดตลอดเวลา หรือปวดเป็นครั้งคราว อุจจาระเป็นสีเทาหรือสีซีดๆอาจมีไขมันปนออกมากับอุจจาระ และน้ำหนักตัวลด
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติอาการ
2.ตรวจร่างกาย
3.การตรวจพิเศษ
การเจาะเลือดตรวจระดับเอนไซม์ amylase และ lipase
การทำอัลตราซาวนด์เพื่อตรวจว่าเป็นโรคอื่นที่อาจทำให้มีอาการหรือไม่
ความผิดปกติของกระเพาะอาหาร
**2.1 ความผิดปกติแต่กําเนิด (Congenital abnormalities
เป็นโรคที่พบในเพศชาย และเด็กแรกเกิดอายุ 1-2 เดือน
อาการและอาการแสดง
พบอาการอาเจียนเป็นอาการสําคัญบางรายมีลิ่มเลือดเล็ก ๆ หรือมีสีน้ําตาลคล้ํา (Coffee ground) ปนออกมา
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติจากประวัติอาเจียน
การตรวจร่างกาย ร่วมกับการคลําก้อนในท้องได้
2.2 กระเพาะอาหารเลื่อน หรือไส้เลื่อนกระบังลม (Hiatal hernia
แต่คาดว่าเกิดจากความอ่อนแอของ
กระบังลม ซึ่งเป็นโดยกําเนิด ซึ่งแบ่งออกได้ 2 ชนิดหลัก ได้แก่
Sliding hiatus hernia บางส่วนของกระเพาะอาหารตั้งแต่ส่วนต่อระหว่างหลอด
อาหารและกระเพาะอาหารเคลื่อนที่ผ่านรูบริเวณกระบังลม เป็นชนิดที่พบมากที่สุด
Paraesophageal hiatus herniaบางส่วนของกระเพาะอาหารเคลื่อนที่ผ่านรู
บริเวณกระบังลม ซึ่งอยู่ข้าง ๆ รูที่เป็นทางผ่านของหลอดอาหาร
อาการและอาการแสดง
ไส้เลื่อนกระบังลมทั้ง 2 ชนิดส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการแสดง จะมี
ส่วนน้อยที่มีอาการ
การวินิจฉัยโรค
การตรวจพิเศษ
การตรวจร่างกาย
2.3 กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
เป็นภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อเมือกบุกระเพาะ
อาหาร (Gastric mucosa)มีอาการเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ
นานเป็นเดือน หรือเป็นปี จะรียกว่า กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง (Chronic gastritis)
2.3.1 กระเพาะอาหารอักเสบเฉียบพลัน
พบการบวมแดงของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
มีเลือดออกชั้นใต้เยื่อบุกระเพาะอาหารขนาดตั้งแต่เป็นจุด
2.3.2 กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
ผนังเยื่อบุกระเพาะอาหารบางลง
และเปลี่ยนไปเป็นเซลล์มะเร็งได้(Epithelial metaplasia)
2.3.2.1 Helicobactor pylori gastritis เป็นกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรังชนิดที่พบได้บ่อย เกิดจากเชื้อ H. pylori ดังนั้นเยื่อบุกระเพาะ
อาหารจึงถูกทําลายได้ง่าย
2.3.2.2 Autoimmune gastritis เป็นชนิดที่พบได้น้อย พบได้ในผู้ที่เป็นโรค
ภูมิคุ้มกันทําลายตนเอง (Autoimmune disease)
อาการและอาการแสดง
พบอาการปวดท้อง ปวดบริเวณ
ลิ้นปี่ปวดแบบแสบ ๆ หรือร้อน ๆ ปวดเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัต
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
2.4 แผลในทางเดินอาหาร หรือแผลเป็นติค (Peptic Ulcer Disease: PUD)
เป็นการ
เกิดแผลในเยื่อบุทางเดินอาหารของระบบทางเดินอาหารส่วนบน แผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer; GU) เกิดจากภาวะเสียสมดุลของปัจจัยที่สําคัญใน
บริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
อาการและอาการแสดง
แผลในกระเพาะอาหารมักพบในผู้ป่วยที่มีอายุเฉลี่ย 50 ปีขึ้นไป
ภาวะแทรกซ้อน
Hemorrhage เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดซึ่งสามารถพบได้ทั้งใน DU และ GU
Perforation เป็นการแตกทะลุของผนังกระเพาะอาหารหรือดูโอดินั่ม ซึ่งจะทําให้กรด
และน้ําย่อยออกมาในช้องท้อง
Obstruction เกิดจากการบวม (Edema)
ส่งผลให้มีการหดรั้งจนทางผ่านของอาหาร
แคบลง เกิดการอุดตัน ทําให้ปวดแน่นท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่
การวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.ความผิดปกติของลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่
3.1 ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital anomalies)
3.1.1 ถุงยื่นแบบเม็คเคล (Meckel's diverticulum)
ความผิดปกติแต่กำเนิดของระบบทางเดินอาหาร
พบเพศชายมากกว่าเพศหญิง จากการคงอยู่ของท่อวิเทลลีน(Vitelline duct)มีลักษณะเป็นถุงยื่นแท้(True diverticulum)
ของลำไส้เล็กเหนือรอยต่อไอลีโอซีกัล
3.1.2 โรคลำไส้ใหญ่โป่งพอง (Aganglionic megacolon)
หรือโรคเฮิชสพรุง โรคลำไส้อุดตันที่พบในทารกแรกเกิด
เด็กทารกไม่สามารถถ่ายขี้เทา ภายใน24-48 ชั่วโมง ทำใก้เด็กท้องโตขึ้น อาจทำให้ลำไส้อักเสบและติดเชื้อรุนแรง
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด เกิดจากเซลล์ที่เจริญไปเป็นปมประสาทหยุดเคลื่อนไปที่ผนังลำไส้ทำให้ชั้นกล้ามเนื้อลำไส้ประสาทบางส่วนไม่มีเซลล์ปมประสาท
เซลล์ปมประสาท ทำหน้าที่ ควบคุมการเคลื่อนไหวของลำไส้ส่วนปลาย
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบบริเวณนั้นบีบรีดผิดปกติ
ผลตามมา คือ อุจจาระและลมผ่านลำไส้ส่วนที่ขาดเซลล์ปมประสาทได้ยาก
เกิดการคั่งสะสมขอลอุจจาระ ลมเป็นจำนวนมาก
ทำให้ลำไส้ใหญ่พองโต (Megacolon)
3.2 ความผิดปกติของการอุดตันในลำไส้
3.2.1 ภาวะลำไส้อุดตัน (Intestinal obstruction)
ภาวะที่มีสิ่งอุดตันหรือการรบกวนการบีบตัวของลำไส้ทำให้ของเหลวอาหารไม่เคลื่อนไปตามลำไส้ได้ปกติ
สาเหตุ
1
.Mechanical obstruction
จากการมีสิ่งอุดกั้น ส่วนใหญ่เกิดจาก External hernai และเกิดจากภาวะแทรกซ้อนลำไส้ติดกันหลังผ่าตัด(Postoperative adhesion)
สาเหตุอื่น การตีบแคบลำไส้ ลำไส้กลืนกัน เนื้องอกในลำไส้
2.
Paralytic adynamic obstruction
จากการลำไส้หยุดการเคลื่อไหว เนื่องจากมีความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อในการบีบตัวลำไส้
ภาวะพบบ่อย
ภาวะลำไส้เป็นอัมพาตชั่วคราว (paralytic ileus) พบหลังการผ่าตัดช่องท้อง
ภายหลังการเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบ(Peritonitis)
จากการระคายเคืองของเยื่อบุช่องท้องจากเกลือน้ำดี
แบคทีเรีย ความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์
อาการและอาการแสดง
ถ้าเป็นการอุดตันแบบเฉียบพลันอาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและเลวลงอย่างรวดเร็ว
ถ้าเป็นการอุดตันเรื้อรังอาการจะค่อยเป็นค่อยไป
1.ปวดท้อง
การอุดตันลำไส้ส่วนบน ปวดแบบตะคริว ปวดบีบ
ปวดรุนแรงได้ ถ้ามีการอุดตันของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงลำไส้
การอุดตันลำไส้ส่วนกลาง มีอาการอาเจียน ท้องอืด ปวดเป็นพักๆ
การอุดตันของลำไส้ส่วนล่าง ท้องอืดมาก ปวดท้อง อาเจียนช่วงหลัง
2.คลื่นไส้อาเจียน มักเกิดอาการปวดบิด
ถ้าลำไส้พองออกและมีน้ำลมคั่งจะอาเจียนต่อเนื่องรุนแรง
การอาเจียนเกิดเร็วถ้ามีการอุดตันระดับสูง
3.ท้องอืด จะรู้สึกมีลมในช่องท้อง
4.การถ่ายผิดปกติ
4.1 การอุดตันของลำไส้เล็ก ถ้าบางส่วนจะผายลมและอุจจาระได้แต่ถ้าตันหมดระยะแรกจะถ่ายไปตกค้างในลำไส้ใหญ่ได้ แต่สุดท้ายจะไม่ถ่ายและผายลม
4.2 การอุดตันของลำไส้ใหญ่ผิดปกติ ท้องผูก ท้องเดิน ถ่ายเป็นมูกเลือด
5.อาการอื่นๆ กดเจ็บ ท้องแข็งตึงถ้ามีภาวะลำไส้เน่าตาย
ถ้ามีไข้แสดงว่ามีการอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง อาการเสียน้ำ
การวินิจฉัย
1.ตรวจร่างกาย
ดู เห็นลำไส้เคลื่อนไหวที่ผนังหน้าท้อง
ฟัง จะได้ยินเสียงลำไส้บีบตัวอย่างแรง เร็ว ดัง ระยะหลังฟังเสียง ไม่ได้ยิน
เคาะและคลำท้องอืด เคาะโปร่ง ขนาดรอบท้องใหญ่ขึ้น
2.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.การตรวจ CBC พบค่า HbและHct สูง จากการสูญเสียน้ำทำให้มี hemoconcentration
ค่า WBCสูงกว่าปกติจากการเน่าของลำไส้ มีการติดเชื้อ ค่าelectrolyte ต่ำกว่าปกติ
2.ตรวจปัสสาวะ ค่าUrine specific gravity สูงกว่าปกติ
3.ตรวจด้วยเอกซเรย์ พบลมกับน้ำเหนือบริเวณบริเวณอุดตันลำไส้เล็กและลำไส้เล็กเรียงตัวแบบขั้นบันได
3.2.2 ไส้เลื่อน (Hernia) ภาวะลำไส้เคลื่อนออกจากตำแหน่งเดิม ทไให้เห็นลักษณะคล้ายก้อนตุง
ตำแหน่งที่พบบ่อย
1.ไส้เลื่อนบริเวณขาหนีบ (Inguinal hernia) จากความผิดปกติของผนังช่องท้องตั้งแต่กำเนิด ลำไส้จะเลื่อนมาติดบริเวณขาหนีบหรือถุงอัณฑะ
ปวดหน่วงๆหรือปวดแสบปวดร้อน หากไอหรือจามจะปวดมากขึ้น
2.ไส้เลื่อบริเวณสะดือ (Umbilical hernia) จากการเคลื่อนตัวของลำไส้ออกมาตุงบริเวณช่องท้องมาก่อน เห็นเป็นลักษณะก้อนนูนบริเวณสะดือ
3.ไส้เลื่อนจากการผ่าตัด (Incisional hernia) เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดบริเวณช่องท้องมาก่อน ทำให้ผนังหน้าท้องอ่อนแอ
การวินิจฉัย
ประเมินด้วยตัวเอง สังเกตความผิดปกติภายนอกของร่างกายจะ
พบบริเวณหน้าท้องหรือบริเวณขาหนีบมีลักษณะนูนเป็นก้อนออกมามากผิดปกติ
การตรวจร่างกาย ให้ผู้ป่วยลุกขึ้นยืนและลองไอออกมา
การตรวจพิเศษการอัลตราซาวด์ การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ การส่องกล้องผ่านทางลําคอลงไปยังหลอดอาหารและช่องท้อง
3.4กลุ่มความผิดปกติลำไส้ตรงและทวารหนัก
3.4.1 ริดสีดวงทวาร hemorrhoids
เกิดจากหลอดเลือดขอดโปร่งพองที่ผนังเยื่อบุทวารหนักเกิดจากกลุ่มหลอดเลือดดำ 3 กลุ่ม ใหญ่บริเวณทวารหนักประสานกันเป็นร่างแหบริเวณเยื่อบุทวารหนัก
ระยะการเกิด
ระยะที่ 1 ริดสีดวงอยู่เหนือ dentate line และไม่ยื่นออกมานอกขอบทวาร
ระยะที่ 2 ริดสีดวงโผล่ออกมาเวลาเบ่งถ่ายอุจจาระเลื่อนกลับเข้าไปได้
ระยะที่ 3 ริดสีดวงโผล่ออกนอกขอบทวารขณะถ่ายอุจจาระ ต้องดันกลับหลังถ่าย
ระยะที่ 4 ริดสีดวงทวารโผล่ออกมาดันกลับไม่ได้
อาการ เลือดผิดกระดาษชำระหลังอุจจาระหรือเคลือบอุจจาระออกมา หรือเลือดหยดลงโถส้วม
การวินิจฉัย การตรวจทางทวารหนัก ตรวจดูขอบทวารหนัก
การตรวจพิเศษ ส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย
3.4.2 ฝีบริเวณทวารหนัก anorectal abscess
ติดเชื้อต่อมผลิตเมือกของทวารหนัก anal grand พัฒนาเป็นผีหนอง
อาการ ปวดและมีหนอง
ขอบทวารหนักบวมและเจ็บเรียกว่า perianal abscess
แก้มก้น ด้านในบวม เจ็บไข้ร่วม ischiorectal abcess
ปวดทวารหนักตลอดเวลา ปวดมากตอนเบ่ง intersphincteric space
วินิจฉัย
ตรวจร่างกายมองเห็นขอบทวารบวมแดง กดเจ็บ
ตรวจด้วยกล้องขนาดสั้น
3.4.3 ฝีคัณฑสูตร anal fistula or fistula in ano
โรคที่เกิดทางทะลุ fistula เชื่อมต่อจากรูเปิดที่เยื่อบุในทวารหนักซึ่งเกิดขึ้นภายหลังมีการแตกของฝีบริเวณทวารหนักหรือการบาดเจ็บทวารหนัก
อาการ หนองไหลซึมเรื้อรัง ร่วมกับอาการคันและปวดเจ็บรอบปากทวารหนัก บางครั้งอาจมีเลือดปน เป็นหนอง
แบ่งตามเส้นทางการเชื่อม
transphincteric fistula
เริ่มต้นจาการเกิด intersphincteric abscess โดยฝีหนองจะเซาะผ่านกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอกออกสู่ผิวหนังด้านนอกห่างจากรูทวารหนักมากกว่าอาทิตย์แรก
intersphincteric fistula
พบบ่อยที่สุด เริ่มต้นจากการเกิด intersphincteric fistula บริเวณ intersphincteric space เกิดการเซาะของฝีลงไปด้านล่างเปิดออกสู่ภายนอกบริเวณใกล้ๆ กับ รูทวารหนัก หรืออาจเกิดจากการแตกของฝี
suprasphincteric fistula
พบได้น้อยเริ่มต้นจากintersphicteric abscess เมื่อฝีแตกออก หนองเซาะด้านบนในตำแหน่งเหนือต่อกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอกเซาะกลับลงมาเปิดสู่ภายนอก
extrasphincteric fistula
เริ่มจากฝี transphincteric fistula จากนั้นหนองกัดเซาะขึ้นไปด้านบนเหนือต่อกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอกแตกทะลุเข้าตรงส่วนปลายของลำไส้ตรง
3.3 ความผิดปกติของการอักเสบของลําไส้
3.3.1 ลําไส้อักเสบเรื้อรัง (inflammatory bowel disease; IBD)
Crohn’s disease
เป็นการอักเสบของลําไส้เฉพาะส่วน แต่เกิดได้ทุกส่วน
ของลําไส้
ทําให้เกิดเนื้อเยื่อผนัง
ลําไส้อักเสบเป็นแผลได้ทุกชั้น และอาจเกิดการเชื่อมทะลุ (Fistula)ระหว่างลําไส้หรืออวัยวะอื่นใน
ช่องท้องได
มักพบบริเวณลําไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum)
การบีบตัวมีลักษณะที่เรียกว่า “Rubber hose”
ทําให้การดูดซึมอาหารลดลง เกิดภาวะขาดสารอาหารตามมาการอักเสบและแผลเป็นที่
เกิดขึ้นจะลดการดูดซึมวิตามินบี 12 และเกลือน้ําด
อาการ
อาการทั่วไป
มีไข้ ปวดเมื่อยร่างกายและอ่อนเพลีย
ถ้าเกิด
Fistula ระหว่างลําไส้เล็กและลําไส้ใหญ
ท้องเดิน น้ําหนักลด และเกิดภาวะขาดสารอาหาร
Ulcerative colitis
การอักเสบและเกิดแผลในชั้นเยื่อบุหรือชั้นใต้เยื่อบุของลําไส้ใหญ่
ทําให้เกิดอาการท้องเดิน 20–30 ครั้งต่อวัน ทําให้เกิดการสูญเสียน้ําได้ถึง 500-1,700 มล. ใน 24 ชั่วโมง
อุจจาระมีมูกและเลือดปน
อาการรุนแรงจะมีคลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร มีไข้ น้ําหนักลด
ระดับโปตัสเซียมและโปรตีนในเลือดลดลงเกิดภาวะเลือดจาง
และอาจนําไปสู่การเกิดมะเร็งของลําไส้ใหญ่ได้
ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน (Acute appendicitis)
ภาวะที่มีการอักเสบของไส้ติ่ง
เป็นสาเหตุของอาการปวดท้องเฉียบพลัน
มักมีสาเหตุจากการอุดตันภายในท่อไส้ติ่งจากเศษอุจจาระแข็ง (Fecalith) นิ่ว สิ่งแปลกปลอม (เมล็ดผลไม ผัก)
อาการอาการแสดง
อาการทั่วไป
ปวดรอบ ๆ สะดือ ไม่สามารถบอกตําแหน่งได้ชัดเจน
อาการปวดท้องจะชัดเจนที่ท้องน้อยด้านขวาล่าง
ตําแหน่ง McBurney’s point
บางรายมีคลื่นไส้อาเจียน มีไข้ซึ่งมักจะเกิดหลังจากเริ่มอาการปวดท้องแล้วระยะหนึ่ง เบื่ออาหาร
ท้องเสีย มักจะเกิดหลังจากไส้ติ่งแตกทะลุตําแหน่งของไส้ติ่งอักเสบใกล้กับลําไส้ใหญ่ส่วน Sigmoid หรือ rectum
Diverticulum การเลื่อนของชั้นเยื่อเมือกเข้าไปในชั้นกล้ามเนื้อของลําไส้ใหญ่
เกิดจากความผิดปกติของเนื้อเยื่อประสานของชั้นเยื่อเมือกและชั้นใต้เยื่อเมือก
เกิดจากการที่มีท้องผูกเป็นประจํา
3.5 ความผิดปกติในการทําหน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร
3.5.1 ภาวะท้องผูก (Constipation)
ภาวะที่อุจจาระแห้งแข็งอัดเป็นก้อน ทําให้
ขับถ่ายออกมาได้ยาก โดยมีการขับถ่ายน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์
เกิดจากหลายสาเหตุ
โรคทางกาย เช่น เบาหวาน
การบาดเจ็บหรือโรคที่สมองและไขสันหลัง
3.5.2 ลําไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome; IBS)
เป็นกลุ่มอาการที่เกิด
จากการทํางานที่ผิดปกติของทางเดินอาหาร
อาการและอาการแสดง
อ ปวดท้องหรือไม่สบายท้องที่สัมพันธ์กับ
การถ่ายอุจจาระ เช่น การเปลี่ยนแปลงความถี่ในการถ่ายอุจาระ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.1 การตรวจ stool examination และตรวจหาพยาธิ
3.6 ความผิดปกติของช่องท้อง peritoneal cavity
3.61 เยื่อบุช่องท้องอักเสบ peritonitis
เกิดจากแบคทีเรีย สารคัดหลั่งหรือสารเคมีต่างๆ ในทางเดินอาหารรั่วเข้าไปใน peritoneal cavity สาเหตุจากถูกยิง แทง กระเพาะทะลุ ติดเชื้อขณะผ่าตัด ล้างไตทางหน้าท้อง ผู้ป่วยตับแข็ง อัมพาตลำไส้
อาการ ขึ้นอยู่กับกับความรุนแรงของโรคและการติดเชื้อ ไข้ ปัสสาวะน้อย