Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ - Coggle Diagram
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
Polyhydramnios
ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจำนวนน้ำคร่ำมากผิดปกติ
มากกว่า 2,000 มล.
AFI≥ 25 ซม.
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน และไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้
การตั้งครรภ์แฝด
การได้รับยา lithium
การติดเชื้อในไตรมาสแรก
เช่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน ซิฟิลิส
ปัจจัยด้านทารก
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง หรือระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของหัวใจ ระบบทางเดิน ปัสสาวะ
ทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ
ทารกบวมน้ำ
Anencephaly
Spina bifida
มีหลอดอาหารและ ล้าไส้ตีบ
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจล้าบาก
HF > GA
คลำส่วนของทารกทางหน้าท้องได้ไม่ชัดเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ชัดเจน
Fluid thrill
มีอาการบวมที่ขา หน้าท้อง
หรืออวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
เคยตั้งครรภ์แฝดน้ำ หรือทารกในครรภ์พิการแต่กำเนิดของระบบประสาท ส่วนกลาง
มีภาวะเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
ขนาดของหน้าท้องขยายมากขึ้น
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก
มีอาการบวมที่ขาก่อนมารพ. 2-3 วัน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
และตรวจทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดค่าดัชนีในน้ำคร่ำ AFI
จากการ U/S โดยการวัดช่องว่างที่ประกอบด้วยน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง 4 ระนาบ
แล้วนำค่าที่วัดได้มารวมกัน
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ศีรษะเด็กลอย หรือท่าผิดปกติ
ความพิการของทารก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด
รกลอกตัวก่อนก้าหนด
ระยะคลอด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
สายสะดือย้อย
การคลอดยากเพราะทารกท่าผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนก้าหนด
ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี
ทารกมีความผิดปกติแต่ก้าเนิด
อัตราตายปริก้าเนิดสูง
แนวทางการดูแล
ระยะตั้งครรภ์
ให้นอนพัก ให้ยานอนหลับหากจำเป็น
ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
รักษาโรคหรือาวะผิดปกติที่มีร่วม
ถ้าพบความผิดปกติของทารก
อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์ โดยแพทย์เจาะถุงน้ำคร่ำ
U/S เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของทารกในครรภ์
ระยะเจ็บครรภ์
การคลอดจะด้าเนินไปตามปกติ
รายที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดีต้องพิจารณาให้ Oxytocin
เมื่อทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือภาวะสายสะดือย้อยให้จัดการช่วยคลอด โดยการผ่าตัดทารก
ออกทางหน้าท้อง
ฉีด Metherginหรือ Oxytocin หลังทารกคลอด
การรักษา
การดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
เอาออกครั้งละ 1,500-2,000 มล. ไม่เกิน 5 ลิตรต่อครั้ง
หยุดทำเมื่อปริมาณน้ำคร่ำกลับมาปกติ (AFI=15-20 ซม.)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบ ได้แก่ การเจ็บครรภ์สายสะดือย้อย ถุงน้ำคร่ำแตก รกลอกตัวก่อนกำหนด อาจจะเจาะถูก รก สายสะดือ หรือตัวทารก และติดเชื้อได้
การรักษาด้วยยา
Indomethacin (Prostaglandin synthetase inhibitors)
ไตลดการขับปัสสาวะ ลง ร่วมกับการลดการไหลเวียนเลือดไปยังไต
ลดการสร้างและเพิ่ม การดูดซึมกลับของสารน้ำในปอดมากขึ้น
Sulindac (nonsteroidal anti-inflammatory drug)
มีผลลดปริมาณน้ำคร่ำ
ทำให้ ductus arteriosus ตีบแคบ
เป็นของเหลวที่อยู่ล้อมรอบตัวทารกในครรภ์
บรรจุอยู่ภายในเยื่อหุ้มถุงน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำถูกสร้างมาจากน้ำเลือดของมารดา
โดยการซึมผ่านผิวหนังทารกในครรภ์
เข้าสู่ช่องว่างภายในถุงน้ำคร่ำ
ส่วนประกอบหลักของน้ำคร่ำ คือ
ปัสสาวะของทารกในครรภ์
และสารน้ำที่สร้างมาจากปอด
กลไกหลักในการควบคุมปริมาณน้ำคร่ำ คือ
กระบวนการกลืนน้ำคร่ำของทารกในครรภ์
และการขับถ่ายปัสสาวะของทารกในครรภ์
หน้าที่ของน้ำคร่ำ
ทำให้ทารกมีการเคลื่อนไหวสะดวก
ป้องกันการกระทบกระเทือน
รักษาอุณหภูมิของทารกให้คงที่
แหล่งให้อาหารแก่ทารก
ช่วยขยายปากมดลูกเมื่อเวลาเจ็บครรภ์คลอด
Oligohydramnios
ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจ้านวนน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
มีน้ำคร่้าน้อยกว่า 500 มล. หรือ
AFI ≤ 5 เซนติเมตร
สาเหตุ
ความผิดปกติของมารดา
ความผิดปกติของรก
ความผิดปกติของทารก
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ
ความพิการแต่กำเนิด
ความผิดปกติทางโครโมโซม เช่น Trisomy18, Turner syndrome
ทารกเสียชีวิต
การรั่วของถุงน้ำคร่ำเป็นเวลานาน
รกลอกตัวก่อนก้าหนด
รกเสื่อมสภาพ
ภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
ภาวะรกขาดเลือดไปเลี้ยง
เบาหวานในขณะตั้งครรภ์
แฝดที่มีภาวะ TTTS
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนก้าหนด
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกบีบหดรัดตัวทารกได้มาก
ทำให้ทารกเกิดความพิการได้ง่าย
เท้าปุก แขนหรือขาโก่ง
ผิวหนังของทารกมักจะมีลักษณะแห้ง เหี่ยวย่น
มีภาวะ Pulmonary hypoplasia
การกดทับของมดลูกต่อทารกในครรภ์
อาจเกิดการกดทับที่สายสะดือ
ทำให้ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
อัตราการเสียชีวิตสูงทั้งในครรภ์ และแรกคลอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีน้ำเดินออกทางช่องคลอด
หรือมีภาวะความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ให้ประวัติทารกในครรภ์เคลื่อนไหวน้อย
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
คลำส่วนของทารกได้ง่าย
ไม่สามารถท้า Ballottement ของศีรษะทารกในครรภ์ได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยการวัดดัชนีน้ำคร่ำ AFI ≤ 5
การรักษา
การใส่น้ำเกลือไอโซโทนิค
เข้าไปในถุงน้ำคร่ำในปริมาณที่พอเหมาะ
ไม่เกินครัhงละ 200 มล.
หรือในปริมาณที่ทำให้ความดันภายในถุงน้ำคร่ำกลับสู่ปกติ (ค่าความดันภายในถุงน ้าคร่้าเท่ากับ 1-14 มิลลิเมตรปรอท)
การรักษาภาวะเจริญเติบโตช้า
และตรวจดูความพิการแต่ก้าเนิดของทารกในครรภ์ โดยการ U/S
การใส่สายเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะของทารก
ในกรณีที่มีการอุดตันอยู่ตรงบริเวณท่อปัสสาวะ จะช่วยลดภาวะไตบวมน้ำ และทำให้ไตทารกไม่เสียมาก