Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ปวยทีมีความผิดปกติทางหู - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ปวยทีมีความผิดปกติทางหู
Otitis Externa
สาเหตุ
คือภาวะทีหูชันนอกเกิดการอักเสบ ซึงอาจเกิดจากการติดเชือหรือไม่ติดเชือก็ได้ ภาวะนีมักถูกเรียกในทางการแพทย์ว่าโรค “หูนักว่ายนา” (Swimmer’s ear) เนืองจากมักเกิดภายหลังนาเข้าหู หรือมีความชืนภายในช่องหู ทําให้เนือเยือบริเวณช่องหูมีความเปราะบาง เกิดการอักเสบหรือติดเชือได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
ปวดหู มีอาการคันหรือระคายเคืองภายในหู มีอาการบวมแดงบริเวณใบหูหรือภายในช่องหู มีนาใสๆ หรือหนองออกจากหู มีอาการตึงเจ็บขณะโยกบริเวณใบหู มีภาวะสูญเสียการได้ยิน หรืออาการหูอือ
การวินิจฉัย/การตรวจร่างกาย
โดยลักษณะอาการที่สำคัญของโรคนี้ คือ เมื่อดึงใบหูแรง ๆ จะทำให้เจ็บในรูหูมาก ซึ่งแตกต่างจากผู้ป่วยที่เป็นโรคหูชั้นกลางอักเสบ (หูน้ำหนวก) ที่จะตรวจไม่พบอาการนี้
เมื่อแพทย์ใช้เครื่องส่องหู (Otoscope) จะเห็นลักษณะการอักเสบหรือฝีอยู่ในรูหู พบอาการบวมแดงของรูหู ทำให้มองเห็นแก้วหูไม่ชัด ส่วนเยื่อแก้วหูมักจะเป็นปกติและไม่มีรูทะลุ
นอกจากนี้ ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจตรวจพบต่อมน้ำเหลืองโตที่หน้าหู หลังหู หรือบริเวณคอร่วมด้วย
Acute otitis media
สาเหตุ
เชือทีเปนสาเหตุของหูชันกลางอักเสบอาจจะเปนเชือไวรัส หรือแบคทีเรีย เชือมักจะผ่านจากจมูก และ โพรงหลังจมูก sinus เข้าสู่หูชันกลางผ่านทางท่อยูสเตเชียน ซึงเปนท่อทีเชือมระหว่างโพรงหลังจมูก (nasopharynx) และหูชันกลาง
อาการและอาการแสดง
•ไข้สูง เด็กเล็กอาจร้องไม่หยุด โดยเฉพาะเวลากลางคืน และกระวนกระวาย อาจดึงใบหูข้างทีปวด และอาจมีอาการคลืนไส้ อาเจียน และชักได้
•เยือแก้วหูแดง และบวม มักจะโปงออกมาจนไม่สามารถเห็นโครงสร้างปกติภายในหูชันกลางได้
•อาการปวดหู, ไข้ และหูอือ จะลดลง หลังจากเยือแก้วหูทะลุ และมีหนองไหลออกมาแล้ว การได้ยินลดลง
• อาจมีอาการปวด และกดเจ็บบริเวณกระดูกมาสตอยด์หลังหู อาจมีเยือแก้วหูทะลุ และมีหนอง, เลือด หรือหนองปนเลือดไหลออกมา
•ผู้ปวยบางราย อาจมีอัมพาตของกล้ามเนือใบหน้า เนืองจากเส้นประสาทสมองคู่ที 7 มีการอักเสบ
การวินิจฉัย/ตรวจร่างกาย
เมื่อแพทย์ใช้เครื่องส่องหู (Otoscope) จะเห็นลักษณะการอักเสบหรือฝีอยู่ในรูหู พบอาการบวมแดงของรูหู ทำให้มองเห็นแก้วหูไม่ชัด ส่วนเยื่อแก้วหูมักจะเป็นปกติและไม่มีรูทะลุ
Hearing loss
อาการและอาการแสดง
ปวดหนักในหู ในรูมีนา ฟงคําไม่รู้ ในหูมีเสียง เอียวเอียงเวียนหัว
การวินิจฉัย/ตรวจร่างกาย
แพทย์จะวินิยฉัยจากประวัติการสัผัสหมู่ป่วย หรือการรับประทานอาหารสุกดิบๆ การตรวจร่างกายพบว่ามีไข้ คอแข็ง สูญเสียการได้ยิน การวินิจฉัยที่สำคัญคือเจาะเพาะเชื้อจากเลือดหรือสารหลังพบเชื้อนี้
สาเหตุ
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิดอาการแต่เชื่อว่าอาจเกิดจากเชื้อไวรัส การอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นใน การบวมน้ำของหูชั้นใน การมีรูรั่วของท่อหูชั้นใน เป็นต้น
Tympanic membrane perforation
สาเหตุ
เสียงปริมาณทีมากผ่านเข้ามายังบริเวณเยือแก้วหู ทําให้เยือแก้วหูฉีกขาด หรือทะลุได้
เ ยือแก้วหูได้รับบาดเจ็บจากการใช้คัตตอนบัตหรือไม้แคะหู หรือการได้รับบาดเจ็บบริเวณศีรษะ
การอักเสบติดเชือของหูชันกลาง
เนืองอกต่างๆ ภายในหู
อาการและอาการแสดง
มีของเหลวไหลออกจากรูหู เช่น เลือด หนอง นาใสๆ
มีอาการปวดหูร่วมกับมีประวัติหูชันกลางอักเสบติดเชือ
มีเสียงหึงๆ ในหู คล้ายเสียงแมลงบินใกล้บริเวณหู
การได้ยินเสียงผิดปกติ หรือมีการสูญเสียการได้ยินในหูข้างทีเยือแก้วหูทะลุ
การวินิจฉัย/ตรวจร่างกาย
การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Tests) เป็นการเก็บตัวอย่างของเหลวที่ไหลออกจากหูส่งตรวจหรือเพาะเชื้อในห้องแล็บ เพื่อดูการติดเชื้อแบคทีเรียที่อาจเกิดขึ้นภายในหูของผู้ป่วย
การตรวจการทำงานของหูชั้นกลาง (Tympanometry) แพทย์จะใส่เครื่องมือพิเศษที่เรียกว่า Tympanometer เข้าไปในช่องหู เพื่อดูการตอบสนองของเสียงและความดัน จากนั้นจะประเมินผลจากรูปแบบของผลการตรวจที่ออกมา
การตรวจการได้ยิน เป็นการตรวจดูความผิดปกติของการได้ยินด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ส้อมเสียง ซึ่งทำให้ทราบได้ว่าผู้ป่วยสูญเสียการได้ยินจากส่วนที่รับแรงสั่นสะเทือนของแก้วหูและหูชั้นใน หรือเป็นความเสียหายของประสาทหูและเส้นประสาท บางรายอาจเกิดได้ทั้ง 2 ส่วน หากผลตรวจออกมายังไม่ชัดเจน แพทย์อาจตรวจด้วยเครื่องตรวจการได้ยิน (Audiology Exam) ซึ่งมีความละเอียดในการตรวจมากกว่าการใช้ส้อมเสียง โดยวัดความสามารถในการฟังของผู้ป่วยจากระดับความดังและความถี่ของเสียงที่แตกต่างกัน