Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมและการเมือง, บทที่ 6 บทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมแ…
บทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมและการเมือง
ความรับผิดชอบ
ภาระรับผิดชอบ หรือ ภาระความรับผิด (accountability) หมายถึง ความรับผิด และรับชอบในผลของการกระทำตามบทบาทหน้าที่ของผู้กระทำ ไม่ว่าผู้นั้นจะดำรงตำแหน่งใดในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ความรับผิดชอบต่อสังคม
Corporate Social Responsibility (CSR) หมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมขององค์กร ซึ่งคือการดำเนินกิจการภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบสังคมและสิ่งเเวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน"
พลเมือง
พลเมือง หมายถึง คนที่มีสิทธิและหน้าที่ในฐานะประชาชนของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือประชาชนที่อยู่ภายใต้ผู้ปกครองเดียวกัน มักมีวัฒนธรรมเดียวกัน เช่น ประเทศจะเจริญหากผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองหรือพลเมืองมีศีลธรรม พลเมืองส่วนใหญ่ของจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีศาสนา ภาษา วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นแตกต่างไปจากพลเมืองในภาคอื่น ข้าราชการไม่ควรปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อยราวกับพวกเขาเป็นพลเมืองชั้นสอง คนไทยทุกคนควรทำตัวเป็นพลเมืองดี คือนอกจากตระหนักถึงสิทธิของตนเองแล้วยังต้องทำหน้าที่ที่กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดด้วย เช่นเสียภาษีให้รัฐ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย
ควรมีลักษณะ
2.มีความเข้าใจและตระหนักถึงสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นใช้สิทธิและเสรีภาพของตนเองอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น ศึกษาผู้สมัครรับเลือกตั้งอย่างดีก่อนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น
1.มีความเข้าใจและตระหนักถึงสถานภาพและบทบาทของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพและบทบาทของพลเมือง ตระหนักถึงความส าคัญของตนเองในฐานะพลเมือง ซึ่งเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยมีสถานภาพเป็นทั้งผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง
มีความเข้าใจและตระหนักในหน้าที่ของพลเมือง มีความจงรักภักดีต่อชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความรับผิดชอบปฏิบัติหน้าที่ของตนในฐานะพลเมืองของ ประเทศชาติ และพลเมืองของท้องถิ่นอย่างครบถ้วนสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ
ค่านิยมพื้นฐานการเป็นพลเมืองดีในสังคมไทย
มีความรับผิดชอบ
ประหยัด และเก็บออม
ความขยันหมั่นเพียร
มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
การพึ่งพาตนเอง
พฤติกรรมของพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย
1.ร่วมกันคิด ช่วยกันวางแผน และร่วมกันทำงานด้วย ความเต็มใจ
4.ร่วมกันปรับปรุงมีการแก้ไขพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
5.ร่วมกันทำงาน โดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก
3.ร่วมกันติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
2.ร่วมกันรับผิดชอบทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ
บทที่ 6 บทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมและการเมือง
นางสาว พชรธรณ์ รุ่งเรือง รหัสนักศึกษา [61719024] :