Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์, นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125 -…
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
Morning sickness
เกิดขึ้นเมื่อGA 4-6 wk.หายไปGA 20 wk.
สาเหตุ
ระดับของฮอร์โมนที่สร้างจากรก HCG & Estrogen
ผลของ H. Progesterone
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ความไม่สมดลุของระดับฮอร์โมน
อาการและอาการแสดง
ปานกลาง
อาเจียนไม่หยุดใน 24 ชม.
อ่อนเพลียไม่สามารถทำกิจวัตรได้
อาเจียนติดต่อกัน 5-10 ครั้ง/วัน
น้ำหนักลด ขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด
รุนแรง
อาเจียนทันทีหลังรับประทานอาหารและติดต่อกัน 4 สัปดาห์
ขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน
ไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
อาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
ทำกิจวัตรประจำวันได้
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ผล Lab
Na,K,Cl ต่ำ, SGOT,LFT สูง,Hct,BUN สูง, Protien ต่ำ
๊U/A พบ Ketone
ประวัติการตั้งครรภ์ มีn/v จนถึง 12 wk.
การดูแลรักษา
ให้วิตามินและแร่ธาตุ
V/S,I/O
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
ให้ดื่มน้ำอุ่นทันทีที่ตื่นนอน
ให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
แนะนำให้ทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
U/A ชั่งน้ำหนัก
อยู่ในที่สงบไม่มีคนรบกวน
ผลกระทบ
มารดา
นน.ลด ขาดสารอาหาร
Electrolyte imbalance
ภาวะเลือดเป็นกรด
Wernicke’s encephalopathy
ด้านจิตใจ
ทารก
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์ คลอดก่อนกำหนด พิการหรือทารกตายในครรภ์
ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus in utero)
การตายของทารกก่อนกำหนด
Intermediate fetal death 20-28 wk.
Early fetul death ก่อน 20 wk.
Late fetal death 28 wk.ขึ้นไป
สาเหตุ
โรคที่เกิดจากการตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อ
ภาวะผิดปกติของทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
ได้รับอุบัติเหตุ
อันตรายจากการคลอด
อาการและอาการแสดง
เด็กไม่ดิ้น มีเลือด/น้ำสีน้ำตาลออกมา น้ำหนักลด เต้านมคัดตึง นุ่มเล็กลง
HF<GA คลำทารกไม่ดิ้นกระทบมือ ฟังFHS ไม่ได้ศีรษะนุ่มเล็กลง
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย :HF<GA ฟังFHS ไม่ได้ ศีรษะนุ่มเล็กลง
X-ray ,estriol,U/S
ซักประวัติ
Spalding's sign, Deual sing,กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติ,เงาแก๊ส
สตรีตั้งครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะตกเลือดได้
การรักษา
ทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
ถ้ามีภาวะเลือดไม่เเข็งตัว ใช้ Heparin จะได้ผลดี
รอให้เจ็บครรภ์และครรภ์เอง
การพยาบาล
ประเมินประสบการณ์ การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย
ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม การปฏิบัติเกี่ยวกับ DFIU
ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
ชนิด
Monozygotic twins
true twins
เกิดจากไข่ 1 ใบ อสุจิ 1 ตัว
Diamniotic dichorionic monozygotic twins pregnancy
Monoamniotic mono chorionic monozygotic twins pregnancy
Diamniotic mono chorionic monozygotic twins pregnancy
แฝดติดกัน (Conjoined twins) หรือแฝดสยาม
Dizygotic twins
False twins
คนละรอบเดือน (Different or subsequent cycle)
Superfetation
รอบเดือนเดียวกัน (Same cycle)
Superfecundation
ท่าของทารกครรภ์แฝด
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกายและหน้าท้อง
ผล Lab
estriol , beta-HCG ,HPL สูงกว่าปกติ
ตรวจพิเศษ
X-ray,U/S
ภาวะแทรกซ้อน
ทารก
Fetal death in utero
คลอดก่อนกำหนด
มารดา
Placenta previa
Abruptio placentae
PROM
Vasa previa
คลอดก่อนกำหนด
Hydramnios
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
Anemia
Uterine dysfuction
Obstructed labor
การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์แฝด
ระยะตั้งครรภ์
ทานอาหารที่มีประโยชน์ครบถ้วน
แนะนำให้มาฝากครรภ์และมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
งดการทำงานหนัก เลี่ยงการเดินทางไกล
ทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย ไม่เครียด ไม่กังวล
สังเกตอาการผิดปกติ
admit GA 36 wk.
งดมีเพศสัมพันธ์
ระยะคลอด
ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดโดยการผ่อนคลายนวดลูบหน้าท้อง การควบคุมการหายใจ
ให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก
หลังคลอด ควรตรวจท้องมารดา
ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
ส่ง group macth
ให้ได้รับสารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำ
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ประเมินภาวะติดเชื้อ โดยสังเกตลักษณะสีจำนวนของน้ำคาวปลา
การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม โดยเฉพาะการเลี้ยงบุตรแฝด
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labour)
การเจ็บครรภห์รือการคลอด GA≤ 37 wk. / 259 วัน
เจ็บครรภ์เตือน
เจ็บครรภ์ไม่สม่ำเสมอทั้งความแรงและความถี่ นอนพักก็หาย
กลไก
progesterone ลดลง estrogen เพิ่มขึ้น
oxytocin กระตุ้นการสร้าง prostaglandin
collagen fibers ถูกย่อยสลาย
prostaglandin ออกฤทธิ์ให้มดลูกหดรัดตัว
กล้ามเนื้อมดลูกกระตุ้น progesterone,estrogen และการยืดหยุ่นของมดลูก
การรวบรวมข้อมูลและประเมินสภาพ
การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การใช้เครื่องมือตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
ซักประวัติ
การรักษาของแพทย์
สาเหตุ
DFIU
เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่มกว่าปกติ
มดลูกโตกว่าปกติ
ความผิดปกติของมดลูก
Preterm dalivery,Abortion
ความผิดปกติของรก
ความผิดปกติของทารกและรก
ห่วงอนามัยค้างในโพรงมดลูก
Infection
โรคร้ายแรงของมารดา
PROM
การชักนำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
มีการหดรัดตัว ของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก อาจมีอาการปวดหรือไม่มี อาการปวดร่วมด้วย
แนวทางการรักษา
สังเกตภาวะการหดรัดตัวของมดลูก
มีการหดรัดตัวของมดลูก แต่ไม่มีการบางตัวของปากมดลูก วินิจฉัยว่าเป็นการเจ็บ ครรภ์ก่อนกำหนด ให้นอนพักอย่างเพียงพอ และให้สารน้ำอย่างเพียงพอ ( hydration )
ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก แต่มีการบางตัวของปากมดลูก ให้วินิจฉัยว่าเป็น Incompetent cervix รักษาด้วยวิธีการนอนพักและพิจารณาการผ่าตัดโดยการเย็บผูกปากมดลูก
ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก และไม่มีการบางตัว ของปากมดลูก ให้วินิจฉัยว่าไม่ได้เจ็บครรภ์ ไม่มีการรักษาใดๆ
มีการหดรัดตัวของมดลูก และมีการบางตัวของปากมดลูก ให้การวินิจฉัยว่าเป็นการคลอด ก่อนกำหนด
ตรวจหาข้อห้ามสำหรับดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ
Tocolytic Agents
Beta-adrenergic receptor agonists
Calcium channel blocking drugs
Magnesium sulfate
Antiprostaglandins
ยาอื่น ๆ progesterone, ethanol, diazoxide เป็นต้น
ข้อห้ามในการให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
•เข้าสู่ระยะ active ปากมดลูกเปิด> 4 ซม.
• ถงุน้ำคร่ำแตก
• มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
• มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์
• ทารกในครรภ์มีภาวะแทรกซ้อน
• มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นข้อห้ามในการใช้ยากลุ่ม beta-sympathominetic drugs เชน่ เบาหวานที่ควบคมุไมไ่ด้
นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125