Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การดูแลเรื่องความสะอาดอาหารและการพักผ่อน
ความสะอาด
ควรท้าความสะอาดร่างกายโดยการเช็ดตัวและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่เปียกหรือเปรอะเปื้อนออก Flushing โดยใช้ น้้ายา antiseptic เช่นHibitane 1 : 100 และเปลี่ยน Pad ให้ใหม่เนื่องจากถ้าปล่อยทิ้งไว้ให้สกปรกจะท้าให้ มารดารู้สึกไม่สบายและจะเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
อาหาร
มารดาหลังคลอดควรได้รับอาหารอ่อนๆหรือเครื่องดื่มมารดาบางคนอาจจะไม่ได้รับประทานอาหารเลยระหว่าง ปลายระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ของการคลอดท้าให้เหนื่อยและอ่อนเพลียมากหลังคลอดดังนั้นจึงควรให้อาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องดื่มเช่นนมโอวัลตินจะช่วยให้รู้สึกสดชื่นเพราะส่วนมากระยะนี้มารดาจะร่่สูกกระหาย น้้าเนื่องจากเสียโลหิตและเหงื่อในระหว่างการคลอดแต่ถ้ามารดาที่ได้รับการดมยากลับจากท้า caesarean section จะต้องงดอาหารไว้ก่อนเพราะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนและอาจจะส้าลักอาหารเข้าปอดได้เมื่อการ คลื่นไส้อาเจียนทุเลาลงแล้ว (ในรายท้า C/S มีค้าสั่งให้เริ่มอาหาร) จึงเริ่มให้อาหารได้แต่โดยปกติใน รายที่ต้องดมยาสลบมักจะได้ Intravenous fluid ดังนั้นจึงต้องดูแลให้มารดาได้รับตามจ้านวนด้วย
การพักผ่อน
หลังจากท้าความสะอาดร่างกายเปลี่ยนเสื้อผ้าและได้รับอาหารแล้วมารดาแทบทุกคนมักจะพักผ่อนนอนหลับ เนื่องจากอ่อนเพลียการคลอดดังนั้นจึงควรดูแลให้มารดานอนในที่สงบเงียบไม่มีเสียงแสงรบกวนถ้าเจ็บแผล หรือปวดมดลูกควรให้ยาระงับความเจ็บปวดเพื่อมารดาจะได้พักผ่อนได้และในบางรายอาจจะมีอาการหนาวสั่น เนื่องจากมีการปรับสภาพการเปลี่ยนแปลงความดันในช่องท้องอย่างรวดเร็วก็ต้องดูแล Keep warm ให้
การพยาบาลมารดาหลังคลอดหลัง2 ชั่วโมงแรก- 24 ชั่วโมงหลังคลอด
การพักผ่อนในระยะหลังคลอดเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับมารดาควรได้รับการพักผ่อนนอนหลับตอนกลางคืน 8 – 10 ชั่วโมงและควรได้รับการพักผ่อนในตอนบ่ายอย่างน้อยวันละ2 ชั่วโมงสังเกตการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจของ ผู้คลอดว่าซึมมีความวิตกกังวลหรือไม่เพราะบางรายอาจเกิดการวิกลจริตขึ้นได้ภายหลังคลอดในบางรายอาจ ต้องแยกทารกจากมารดาเพื่อให้มารดาได้พักผ่อน
Check vital signsควรตรวจสอบอย่างน้อยวันละครั้งและทุก 4 ชั่วโมงในรายที่มีไข้หรือมีภาวะแทรกซ้อน เกิดขึ้น
การปูองกันการติดเชื้อและภาวะแทรกซ้อนวิธีดูแลความสะอาดเป็นเรื่องส้าคัญมากในระยะหลังคลอดเพราะ ระยะนี้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะ 7 วันหลังคลอดพยาบาลต้องกวดขันในเรื่องความ สะอาดให้มาก
การวัดความสูงของมดลูก การวัดความสูงของมดลูก (Height of Fundus) วัดจากส่วนสูงของมดลูกลงมาที่ขอบบนของกระดูกหัวหน่าว (Symphysis Pubis) ควรวัดอย่างน้อยวันละ 1 ครั้งเพื่อดูการคืนสู่สภาพปกติของมดลูกตามธรรมดาแล้วหลัง คลอดทันทีจะวัดมดลูกได้สูง 5 นิ้วฟุตเหนือหัวหน่าวและจะลดลงทุกวันอย่างน้อยวันละครึ่งนิ้วฟุตและ ประมาณวันที่ 10 – 12 หลังคลอดจะคล้าไม่พบมดลูกทางหน้าท้องเพราะมดลูกจะลดต่้าลงมาอยู่ในระดับ เดียวกับกระดูกหัวหน่าวพอดี
การสังเกตน้้าคาวปลา จะต้องสังเกตลักษณะสีกลิ่นและจ้านวนของน้้าคาวปลาว่ามีการเปลี่ยนแปลง อย่างไรในรายที่น้้าคาวปลามีสีแดงคลอดเวลาจะพบว่าเนื่องจากมีเศษรกและเยื่อหุ้มรกค้างอยู่ใน โพรงมดลูกหรือมีการติดเชื้อหลังคลอด (Puerperal Sepsis)
อาหารส้าหรับมารดาหลังคลอด มารดาหลังคลอดเสียเลือดไปในการคลอดมากจึงควรจะได้อาหารที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยโปรตีนเกลือแร่ และวิตามินโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะให้นมจ้าเป็นต้องเพิ่มอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณสูงขึ้นมากกว่าใน ระยะตั้งครรภ์เสียอีกเพื่อช่วยให้มารดามีก้าลังร่างกายแข็งแรงขึ้นนอกจากนี้จะท้าให้การผลิตและคุณภาพของ น้้านมดีขึ้นด้วย - น้้ามีความจ้าเป็นมากในระยะให้นมเพราะน้้าจะให้ความชุ่มชื้นแก่ร่างกายช่วยเพิ่มปริมาณของน้้านมควรดื่ม น้้าวันละประมาณ 10 – 12 แก้ว - นมเป็นอาหารที่มีน้้ามากและมีคุณค่าสูงเพราะมีโปรตีนสูงและแคลเซียมสูงควรดื่มนมอย่างน้อยวันละ 2 แก้ว
สังเกตการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะ ในบางรายจะถ่ายปัสสาวะล้าบากมากใน 1 – 2 วันแรกหลังคลอดด้วยสาเหตุหลายประการเช่นในราย ที่กระเพาะปัสสาวะยืดมากเกินไปหรือถูกกดนานๆอาจจะถ่ายปัสสาวะเองไม่ได้เพราะปฏิบัติการหดรัดตัว (Reflex spasm) หรือความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่มีก้าลังท้าให้ปัสสาวะคั่งหรือถ่ายล้าบาก ปกติแล้วใน 8 – 12 ชั่วโมงแรกควรพยายามช่วยให้ถ่ายเองถ้าถ่ายเองไม่ได้จึงสวนปัสสาวะให้และติดตามต่อไป อีกว่าจะถ่ายครั้งต่อไปได้หรือไม่ถ้ากระเพาะปัสสาวะโปุงหรือคั่งจะท้าให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีในรายที่คิดว่ามี ความผิดปกติเกี่ยวข้องกับทางเดินปัสสาวะต้องตวงปัสสาวะและน้้าดื่มด้วยอุจจาระอาการท้องผูกมักจะพบ เสมอในระยะหลังคลอด 1 – 2 วันแรก
การลุกเร็วภายหลังคลอด(Early Ambulation)
ประโยชน์ของการลุกขึ้นเร็ว
ท้าให้มดลูกเข้าอู่ดีเพราะน้้าคาวปลาไหลออกสะดวก
ปูองกันโรคเส้นเลือดด้าอักเสบ (Thrombophlebitis)
ท้าให้ถ่ายอุจจาระและถ่ายปัสสาวะได้เร็วขึ้น
ท้าให้มารดาแข็งแรงขึ้น
โทษของการลุกขึ้นเร็วเกินไป
ท้าให้มารดาคิดว่าตนเองแข็งแรงดีจึงท้างานไม่มีเวลาได้พักผ่อนท้าให้อ่อนเพลีย
ท้าให้พื้นเชิงกรานและมดลูกหย่อนได้ง่าย
ท้าให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (Secondary PostpartumHaemorrhage)
การให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยแก่มารดาหลัง คลอด
การพักผ่อนและการท้างาน ในระยะหลังคลอดสตรีหลังคลอดยังคงอ่อนเพลียจากการสูญเสียเลือดและพลังงานในขณะคลอดฉะนั้นสตรี หลังคลอดควรได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอโดยเฉพาะช่วง 2สัปดาห์แรกกลางคืนควรได้หลับพักนาน 6 – 8 ชั่วโมงและควรหลับกลางวันขณะทารกหลับประมาณ ½ - 1 ชั่วโมงทุกวันส้าหรับการท้างานในระยะ 6 สัปดาห์ หลังคลอดควรท้างานที่ออกแรงน้อยไม่ควรท้างานที่ต้องใช้ก้าลังของกล้ามเนื้อหน้าท้องห้ามยกของหนักเพราะ ช่วงนี้ Board ligament และRound ligament ที่ยังยึดมดลูกอยู่มีการขยายตัวหากออกแรงมากๆอาจท้าให้ มดลูกเคลื่อนลงต่้าสรุปงานที่ท้าได้เช่นการหุงหาอาหารซักเสื้อผ้าเบาๆกวาดบ้านถูบ้านเมื่อครบ 6 สัปดาห์หลังคลอดจึงจะท้างานทุกอย่างได้ตามปกติ
2.การฝึกกล้ามเนื้อหน้าท้องและPelvic floor ภายหลังคลอดกล้ามเนื้อหน้าท้องของสตรีหลังคลอดถูกยืดขยายสตรีหลังคลอดจึงควรบริหารร่างกายเป็นอย่าง ยิ่งเพื่ออวัยวะต่างๆกลับคืนสู่สภาพเดิมได้เร็วขึ้น
3.การมีเพศสัมพันธ์ ในระยะหลังคลอดเนื้อเยื่อของช่องทางคลอดยังไม่กลับสู่สภาพปกติประกอบกับมีแผลในมดลูกแผลฝีเย็บ น้้าคาวปลาสตรีหลังคลอดมีความเครียดทางจิตใจท้าให้สตรีคลอดยังไม่พร้อมที่จะมีเพศสัมพันธ์ควรงดการมี เพศสัมพันธ์ภายหลัง 4 – 6 สัปดาห์เพราะฉะนั้นความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจจึงเป็นตัวบ่งชี้ว่าจะเริ่ม มีเพศสัมพันธ์ได้หรือไม่
4.การกลับมีประจ้าเดือน ตามปกติสตรีหลังคลอดจะไม่มีประจ้าเดือนอยู่ระยะหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นการขาดประจ้าเดือนที่ปกติ (Physiologic amenorrhea) ระยะเวลาของช่วงนี้จะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลแต่สิ่งที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อการตกไข่และการมี ประจ้าเดือนคือการเลี้ยงทารกด้วยนมตนเองเพราะ Prolactin ยังยั้งการสร้าง Human Pituitary Gonadotropinsสตรีหลังคลอดที่มิได้เลี้ยงทารกด้วยนมตนเองการตกไข่ครั้งแรกอยู่ในช่วง 10 – 11 สัปดาห์และกลับมีประจ้าเดือน 7 – 9 สัปดาห์หลังคลอดส้าหรับสตรีหลังคลอดที่เลี้ยงทารกด้วยนมตนเองการ ตกไข่ครั้งแรกอยู่ในช่วงสัปดาห์ที่ 17 ถึง 28 สัปดาห์ส่วนการกลับมีประจ้าเดือนครั้งแรกอยู่ในช่วง 30 – 36 สัปดาห์
การวางแผนครอบครัว แม้ว่าสตรีหลังคลอดจะเกิดภาวะขาดประจ้าเดือนแต่ก็สามารถผลิตไข่มีการตกไข่ได้เมื่อมีเพศสัมพันธ์จึงท้าให้ เกิดการตั้งครรภ์ขึ้นเพราะฉะนั้นจึงควรคุมก้าเนิดตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3หลังคลอดเป็นต้นไป
การบริหารร่างกายในระยะหลังคลอด
ในระยะหลังคลอดปกติถ้ามารดาได้รับการพักผ่อนเพียงพอและไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆเกิดขึ้นสามารถเริ่ม บริหารร่างกายได้ทันทีทั้งนี้เพราะหากเริ่มต้นบริหารร่างกายได้เร็วก็จะช่วยท้าให้ร่างกายกลับคืนสู่สภาพปกติได้ เร็วด้วยท่าที่ใช้บริหารมีอยู่ด้วยกัน 7 ท่าดังนี้
ท่าที่7 การนอนคว่้า
ประโยชน์
ช่วยให้น้้าคาวปลาไหลสะดวกและมดลูกเข้าอู่ในต้าแหน่งปกติอย่างเร็ว
ช่วยปูองกันและบรรเทาอาการปวดหลัง
ท้าให้ไม่รู้สึกตึงและเจ็บแผลฝีเย็บมากเกินไป
ท้าให้ผ่อนคลายความเครียดและนอนพักในท่าที่สบาย
ลดอาการปวดมดลูก
วิธีท้า นอนคว่้าศีรษะตะแคงไปทางด้านใดด้านหนึ่งวางแขนข้างล้าตัวท้องน้อยและสะโพกนอนนานประมาณ 30 นาที เริ่มท้าตั้งแต่วันแรกหลังคลอด
ท่าที่3 การบริหารไหล่และแขน
ประโยชน์ เพื่อให้กล้ามเนื้อไหล่และแขนแข็งแรงเป็นการเตรียมพร้อมส้าหรับมารดาที่จะอุ้ม และให้นมแก่ทารกในระยะหลังคลอด
วิธีท้า
ยกแขนทั้งสองข้างขึ้นให้ตั้งฉากกับล้าตัวขณะท้าแขนต้องเหยียดตรงและข้อศอกเกร็ง
นอนหงายราบไม่หนุนหนอนขาเหยียดตรงทั้งสองข้างและวางแขนราบข้างล้าตัว
วางแขนไว้ข้างล้าตัว
ท้าเช่นนี้ประมาณ 5 – 10 ครั้งติดต่อกันเริ่มท้าตั้งแต่วันแรกหลังคลอด
หลังจากนั้นค่อยๆเอาแขนลงและกางออกจากล้าตัว
ท่าที่4 การบริหารกล้ามเนื้อขา
ประโยชน์
ช่วยให้กล้ามเนื้อหน้าท้องส่วนล่างและขาแข็งแรง
ท้าให้การไหลเวียนโลหิตไปเลี้ยงอวัยวะส่วนล่างของร่างกายดีขึ้น
วิธีท้า
นอนหงายราบไม่หนุนหมอนขาเหยียดทั้งสองข้างและวางแขนราบข้างล้าตัว
งอขาขวาขึ้นให้เท้าสัมผัสกับก้นในขณะที่ขาซ้ายเหยียดตรง
แล้วเหยียดขาขวาลงงอขาซ้ายขึ้นท้าสลับกันข้างละ 5 – 10 ครั้งเริ่มท้าตั้งแต่ วันที่ 2 หลังคลอด
ท่าที่2 การบริหารกล้ามเนื้อคอและกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ประโยชน์
ช่วยให้การเคลื่อนไหวของคอสะดวกมีความคล่องตัวและแข็งแรง
ท้าให้กล้ามเนื้อหน้าท้องแข็งแรงและลดแรงตึงที่ส่วนหลัง
ช่วยลดหน้าท้อง
วิธีท้า
นอนหงายราบไม่หนุนหมอนวางแขนราบข้างล้าตัว
ยกศีรษะขึ้นให้คางจรดหน้าอกหลังส่วนบนไม่สัมผัสกับพื้น
ค่อยๆวางศีรษะลงกับพื้นท้าเช่นนี้โดยไม่ขยับส่วนอื่นของร่างกายท้าวันละ 5 – 10 ครั้งติดต่อกัน
ท่าที่5 การบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและขา
ประโยชน์
ช่วยเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ช่วยให้กล้ามเนื้อหลังสะโพกและขาแข็งแรง
ช่วยให้การไหลเวียนโลหิตที่ขาดีขึ้น
วิธีท้า
นอนหงายราบไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงตามล้าตัว
ยกขาขวาตั้งฉากกับล้าตัวในขณะที่ขาซ้ายเหยียดตรงค่อยๆลดขาขวาลงช้าๆโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วย
แล้วยกขาซ้ายขึ้นท้าสลับข้างๆละ 5 – 10 ครั้งเริ่มท้าตั้งแต่วันที่ 3 หลังคลอดท่าที่6 การบริหารกล้ามเนื้อ หลังและสะโพก
ท่าที่1 การหายใจ (Abdominal toning exercise : Deep abdominal breathing)
ประโยชน์
เพื่อผ่อนคลายความเครียดท้าให้จิตใจปลอดโปร่งและแจ่มใส
เป็นการบริหารปอดท้าให้ร่างกายได้รับอากาศเพียงพอส้าหรับช่วยฟื้นคืนสู่สภาพเดิมได้รวดเร็ว
วิธีทำ
นอนหงายราบไม่หนุนหมอนชันเข่าและเอามือทั้งสองวางบนหน้าท้อง
สูดลมหายใจเข้าลึกๆทางจมูกให้หน้าท้องโปุงออกซึ่งจะรู้สึกได้โดยวางมือบนหน้าท้อง
ค่อยๆผ่อนลมหายใจออกทางปากพร้อมทั้งแขม่วท้องให้ท้าซ้้า 5 – 10 ครั้ง