Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 ผู้คลอดที่ช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ, นางสาวธันยพร…
กรณีศึกษาที่ 2 ผู้คลอดที่ช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
ความหมาย
ใช้ในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีแรงเบ่งเพียงพอที่จะดันทารกออกมา จากมดลูก หรือ ทารกในครรภ์มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ แพทย์ต้องช่วยให้คลอดโดยจะใช้ถ้วยโลหะ/ซิลิโคนครอบที่ศีรษะทารกแล้วต่อสายเข้ากับเครื่องที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะสุญญากาศที่ศีรษะทารก แพทย์จะดึงสายที่ต่อกับถ้วยพ้อรมๆกับมารดาออกแรงเบ่งขณะที่มดลูกหดรัดตัวเพื่อเสริมแรงเบ่งมารดา
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอดเพิ่มมากขึ้น
เสี่ยงติดเชื้อบริเวณแผลฝีเย็บมากขึ้น
เสี่ยงตกเลือดหลังคลอด
ทารก
ภาวะตัวเหลืองหลังคลอด
หนังศีรษะทารกถลอก/เกิดบาดแผล
ทารกเสี่ยงเสียชีวิต
Caput succedaneum หายไปเอง2-3วัน
Cephalhematoma หายไปเอง 3 เดือนหลังคลอด
ดวงตาได้รับบาดเจ็บ Subconjunctival Hemorrhage , Retinal Hemorrhage
การพยาบาล
การพยาบาลขณะทำ
เปิดเครื่องดูดโดยลดความดันลงครั้งละ 0.2 กก/ตร.ซม. ทุก 2 นาที จนได้ค่าความดัน 0.8 กก/ตร.ซม.
ฟังและบันทึก FHS หากผิดปกติให้รายงานแพทย์
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกและรายงานแพทย์
เตรียมความพร้อมสำหรับกรณีใช้ V/E ไม่สำเร็จ
จัด Vacuum cup ให้อยู่ใกล้ occiput มากที่สุด
การพยาบาลหลังทำ
V/S ทุก 15-30 นาทีและดูแลความสุขสบายของมารดา
ประเมินแผลฝีเย็บและเลือดออกจากทางช่องคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15-30 นาที
การพยาบาลก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ
จัดท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ ,ประเมิน FHS
เตรียมมารดาทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อบ่งชี้/ข้อห้าม
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ไม่มีแรงเบ่ง
มารดามีโรคประจำตัวที่ไม่ควรออกแรงเบ่ง เช่น TB , HT , PIH
การคลอดระยะที่ 2 ยาวนานหรือหยุดชะงัก การหดรัดตัวของมดลูกน้อย
ด้านทารก
มีภาวะ fetal distress
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติ เช่น OT,OPP
คลอดทารกแฝดคนที่ 2
ข้อห้าม
Macrosomia
ศีรษะทารกยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่า Anterior
GA < 34 wks. เนื่องจากอันตรายต่อสมองทารก
นางสาวธันยพร เครืออ้อย เลขที่ 36 (603101036)