Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
การบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การวินิจฉัยชุมชนและการ จัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การประเมินภาวะสุขภาพของชุมชน โดยการเก็บรวบร่วมข้อมูลเเละวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผลบ่งชี้อยู่ในระดับใด
ข้อมูล ข้อมูลทั่วไป ของชุมชน
ข้อมูลด้าน สิ่งแวดล้อม สังคม
ข้อมูลที่บ่งชี้สภาวะ สุขภาพอนามัยของ ชุมชน
ขั้นตอนการทำ
1 ระบุปัญหาอนามัยชุมชน Identify problem
ลักษณะปัญหาอนามัยชุมชนมี
• ปัญหาอนามัยของชุมชนเอง
• ปัญหาอนามัยของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
• ปัญหาอนามัยของชุมชนและเจ้าหน้าที่ ร่วมกัน
การใช้สูตร
:!!: (จำเลยนะ)
ปัญหา = (สิ่งที่ควรเป็น-สิ่งที่เป็นอยู่)xความกังวลห่วงใย
ปัญหาอนามัยชุมชน = (สุขภาพชุมชนที่ควรเป็น-สุขภาพชุมชน ที่เป็นอยู่)xความกังวลห่วงใยของคนในชุมชน
ระบุปัญหาโดยใช้หลัก5 D
:!!:
Death ตาย
Disabilityพิการ/ไร้ความสามารถ
Diseaseโรค
Discomfortไม่สุขสบาย
Dissatisfactionความไม่พึงพอใจ
ถึงเเม้มีเเค่ D เดียวก็สามารถระบุเป็นปัญหาได้ :star: :star: :star:
ระบุปัญหาโดยเทียบกับเกณฑ์
:warning:
องค์การอนามัยโลก
จปฐ. (ข้อมูลพื้นฐานจำเป็น)
เกณฑ์อื่นๆตามนโยบายรัฐ เช่นกำหนดให้เด็กขาดสารอาหารได้ไม่เกิน 1:100000
ระบุปัญหาโดยกระบวนการกลุ่ม
:<3: :<3:
นำเสนอข้อมูล ข้อดีข้อเสีย ผลกระทบ
เสนอความคิดเห็น/อภิปราย
ออกเสียงสนับสนุนรับรองปัญหา
:!!:* หากมีเสียงสนับสนุนเพียง1เสียงให้ถือว่าเป็นปัญหา หากมีมากกว่า1เสียงให้ถือว่าปัญหานั้นมีขนาดและ ความสำคัญรวมทั้งผลกระทบต่อชุมชน :!!: :!!:
:green_cross:
A-I-C = การเเลกเปลี่ยนเรียนรู้
2.ขั้นตอนการสร้างแนว
ทางการพัฒนา (Influence)
I1 การคิดเกี่ยวกับกิจกรรมโครงการที่จะทำให้
บรรลุวัตถุประสงค์ ตามภาพพึงประสงค์ (30นาที)
I2 การจัดลำดับความสำคัญ โครงการ (30นาที)
กิจกรรมหรือโครงการที่มีส่วนร่วมกับผู้สนับสนุน
กิจกรรมที่ไม่สามารถทำเองได้ที่ต้องอาศัยภาครัฐเเละเอกชน
กิจกรรมที่ท้องถิ่นสามารทำได้เองเลย
3.ขั้นตอนการสร้างแนวทางปฏิบัติ
(Control)
C1 : การเเบ่งความรับผิดชอบ (30นาที)
C2 : การตกลงใจในรายละเอียดของการ
ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติ (30นาที)
ความหมาย ยอมรับการทำงาน จัดกลุ่มดำเนินงานเเละผู้รับผิดชอบ
1.การสร้างความรู้ (Appreciation)
ความหมาย เเลกเปลี่ยนเรียนรู้หาข้อสรุปเป็นประชาธิปไตย
A2 การกำหนดอนาคตหรือวิสัยทัศน์ อันเป็น
ภาพพึงประสงค์ในการพัฒนาว่าต้องการอย่างไร(20นาที)
A1 การวิเคราะห์สภาพการของหมู่บ้าน ชุมชน
ตำบล ในปัจจุบัน (15นาที)
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
การจัดประชุมเน้นกระบวนการข้ามขั้นตอนไม่ได้ เน้นระดมความคิด การยอมรับ
ศึกษาเเละเตรียมชุมชน
วิทยากรเข้าใจกระบวนการ A-I-C
:no_entry:
3.การจัดเวทีประชาคม
• ปรัชญา/หลักการสำคัญ
ปรัชญาวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ปรัชญาความเชื่อ ความคิดทางสังคม
• องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาคม
ผู้เข้าร่วมประชาคม
มีผู้อำนวยการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการที่ดี
มีบรรยากาศที่ดี
มีวัตถุประสงค์ของการจัดประชาคมที่ชัดเจน
มีระยะเวลาที่เหมาะสม
ต้องมีข้อสรุปเกิดขึ้นทุกครั้ง
มีสื่อและอุปกรณ์การสื่อสารที่ช่วยให้เกิด
ความเข้าใจประเด็น เนื้อหา
ประเด็นที่เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นปัญหาร่วม
มีการประสานงานล่วงหน้า
• ความหมายและความสำคัญ
ประชาชน คือ คนมากกว่า 1
สมาคม คือ การเเลกเปลี่ยนประเด็น
มีจุดมุ่งหมายในประเด็นนั้น
• ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวที
ประชาคม
ขั้นตอน 1 ขั้นตอนเตรียมการก่อนการทำเวที
ประชาคม
:check:
การเตรียมประเด็นที่ต้องการในเวทีประชาคม
การเตรียมแนวคำถาม
การเตรียมขั้นตอน เครื่องมือ และอุปกรณ์ สำหรับการทำประชาคม
6.การเตรียมทีมงานจัดเวทีประชาคม
การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม
การเตรียมประเด็นที่ต้องการในเวทีประชาคม
กระบวนการที่ 2 กระบวนการด าเนินการเวที
ประชาคม
:red_cross:
3.การเกริ่นนำเข้าสู่ที่มาที่ไปของประเด็นสำหรับ
การอภิปรายในเวทีประชาคม
บอกวัตถุประสงค์ของการจัดเวทีประชาสังคม
การทำความรู้จักกันระหว่างผู้เข้าร่วมอภิปราย
และทีมงานจัดการ
การวางกฎ และระเบียบของการจัดเวที
ประชาคมร่วมกัน
การอภิปรายประเด็นหรือปัญหา
การสรุป
กระบวนการที่ 3 กระบวนการติดตามและ
ประเมินผล
:green_cross:
ขั้นตอนการติดตาม
ขั้นตอนของการประเมินผล
การสรุปข้อมูลที่ได้จากการติดตามและการ
ประเมินผล
การนำเสนอข้อมูลต่อชุมชน
:check:
การพูดในที่ชุมชน : บันได13 ขั้น
เสียงดังให้พอดี
ตาจับที่ผู้ฟัง
อย่าให้มีเอ้ออ้า
เรื่องราวให้กระชับ
เริ่มต้นให้โน้มน้าว
ทักที่ประชุมไม่วกวน
หน้าตาให้สุขุม
ท่าทีให้สง่า
ซักซ้อมให้ดี
ดูเวลาให้พอครบ
เตรียมให้พร้อม
สรุปจบให้จับใจ
ยิ้มแย้มแจ่มใสตลอด
การนำเสนอข้อมูล
ข้อมูลที่เป็นสารสนเทศแล้ว
อธิบายเป็นภาษาที่เข้าใจได้ง่าย
ไม่หลุดวัตถุประสงค์
การใช้สื่อที่เหมาะสม
ช่วงเวลาเหมาะสม
2 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
:warning:
วิธีของ JHON J.HANLON
องค์ประกอบ B คือ การคุกคามของปัญหานั้น
(Seriousness of Problem)
องค์ประกอบ C คือ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
(Effectiveness of the Intervention)
องค์ประกอบ A คือ ขนาดของปัญหา
(Size of Problem)
องค์ประกอบ D คือ ข้อจ ากัด (Limitation)
วิธี 5 D เป็นการจัดลำดับโดยอาศัยหลักทางระบาดวิทยา
Disability ให้ความสนใจจำนวนที่เกิดความพิการจากปัญหา
หรือโรคนั้นๆ
Death พิจารณาจากจำนวนคนที่เสียชีวิตจากโรคหรือ
ปัญหานั้นๆ
Disease พิจารณาจากจ านวนผู้ป่วยจากโรคหรือปัญหา
สุขภาพนั้นๆ
Discomfort พิจารณาถึงปัญหาสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่
สุขสบายของคนในชุมชน
Dissatisfaction ให้ความส าคัญกับความรู้สึกไม่พึงพอใจของ
ประชาชนในชุมชน
วิธีการใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group
process) : ปัญหาที่โดนเลือกมากที่สุด
• Ranking technique ประชาชนลงคะแนน
ตัดสินเลือกปัญหาโดยใช้หลักประชาธิปไตย
• Listing Technique ประชาชนเสนอปัญหาต่างๆ
ที่มีในชุมชน
วิธีของ Standhope และ Lancaster ให้คะเเนน 1-10 นำคะเเนของเกณฑ์มาคูณ
ผู้ชำนาญการในการแก้ปัญหานั้นๆที่มีอย
ความสามารถของพยาบาลในการแก้ไขปัญหา
ความตั้งใจของชุมชน(motivation)ในการจะแก้ไข
ปัญหานั้นๆ
ความรุนแรงของปัญหาถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
การรับรู้ปัญหาของชุมชน
ความรวดเร็วของมติที่จะต้องแก้ไขปัญหานั้น
วิธีของสรรพสิทธิประสงค์ (SPS Model)
ความรุนแรงปัญหา (Severity of problem) 0 1 2 3 4 ตาย พิการ
ความง่ายในการแก้ปัญหา (Ease of management) เเก้ได้ มีส่วนร่วม รอหน่วยงาน
ขนาดของปัญหา (Size of problem) 0 1 2 3 4 ยกมือ
ความสนใจหรือความร่วมมือ(Community concern) จำนวนที่ยกมือ
การรวมคะแนน
เทียบบัญญัติไตรยางศ์
-สูตร
คะเเนน % = (จำนวนคนโหวต x 100)/N
• นำคะแนน % ที่ได้ไปเทียบเกณฑ์ คะแนน 0-4 แล้วรวมเป็น
• คะแนนรวมบวกอ
• คะแนนรวมจำนวนคน (Vote)
• หากปัญหาใดมีคะแนนรวมบวกเท่ากันให้ตัดสินที่คะแนน
รวมจำนวนคนที่โหวตให้ปัญหานั้นๆ
3 การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
การหาสาเหตุของปัญหาจากเวทีประชาคม
หากปัญหาใดมีคะแนนรวมบวกเท่ากันให้ตัดสินที่คะแนน
รวมจ านวนคนที่โหวตให้ปัญหานั้นๆ
ต้นไม้ปัญหา
ขั้นตอน
2.ระดมความคิดในการหาปัญหาของชุมชน
3.นำเสนอปัญหาของแต่ละกลุ่ม /ข้อมูลชุมชน
แบ่งกลุ่มตามจำนวน
4.รวบรวมปัญหา
5.กระบวนการจัดล าดับความส าคัญของปัญหาปัญหา
6.หาสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วม
7.สรุป แบ่งหน้าที่ นัดหมาย
การประเมินสุขภาพชุมชน
การวางแผนหรือการ กำหนดแผนการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
การประเมินผลการ ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
การดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน