Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกเเรกเกิดที่ได้รับการบาดเจ็บจากการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกเเรกเกิดที่ได้รับการบาดเจ็บจากการคลอด
Soft tissue injury
บาดจ็บได้หลายลักษณะเเละเกิดขึ้นได้หลายตำเเหน่ง ได้เเก่ บาดเเผลถลอก บาดเเผลฉีกขาด ผื่นเเดงที่ผิวหนัง
การรักษา ไม่มีการรักษาจำเพาะ ให้รักษาตามอาการ ทำความสะอาดเเผล
เลือดออกที่ตาขาวเเละในลูกตา(Subconjunctival hemorrhage, Retinal hemorrhage)
มีเลือดออกที่บริเวณเยื่อบุตา เกิดจากการมีเเรงดันภายในทรวงอกเพิ่มขึ้นกระทันหัน ไม่ต้องรักษาหายเองได้
การบาดเจ็บของเส้นประสาทเลี้ยงใบหน้า
อาการและอาการแสดง
เกิดอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อหน้าโดยทั่วไปมักเป็นด้านเดียวทําให้ใบหน้า ด้านที่เป็นไม่มีการเคลื่อนไหวทารกส่วนใหญ่ที่มี facial palsy มักหายเองได้ภายใน 2-3 วันถึงเดือน หายได้ 7-10 วันหลังคลอด หายเป็นปกติ 2-3 เดือน ไม่ดีขึ้นภายใน 10 วัน ควรส่งตรวจ electrodiagnosis
การรักษาพยาบาล
ดูเเลเกี่ยวกับการได้รับนม สังเกตการกลืน ระวังการสำลัก
ในรายที่เส้นประสาทขาดทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
ดูเเลไม่ให้ดวงตาได้รับอันตราย เนื่องจากเปลือกตาปิดไม่สนิท หยอดน้ำตาเทียมตามแผนการรักษา
อธิบายให้บิดา มารดาให้เข้าใจถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น เพื่อคลายกังวล
เกิดเนื่องจากเส้นประสาทที่ควบคุมความรู้สึกของใบหน้า ซึ่งได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 (facial nerve) ถูกกดหรือได้รับความกระทบกระเทือนจากการคลอดยาก
Head and skull injury
การมีก้อนเลือดหรือมีเลือดออกใต้หนังศีรษะ
เลือดออกใต้หนังศีรษะ
เลือดสะลมใต้ช่องว่างระหว่างผังผืดของกะโหลกศีรษะกับเยื่อหุ้มกะโหลกจากการฉีกขาดของหลอดเลือดหลังใช้เครื่องมือช่วยคลอด
การตรวจพบ
ลักษณะนุ่มหยุ่นคล้ายน้ำในถุง กระเพื่อมได้อาจมีecchymosisรอบตา
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากกะโหลกศีรษะกดหรือกระเเทกกระดูกเชิงกรานของมารดาทำให้เส้นเลือดเเตก
การตรวจพบ
คลำได้ก้อนชัดเจนค่อนข้างตึง ขอบเขตชัดเจน ก้อนไม่ข้ามsuture
ภาวะเเทรกซ้อน
ตัวเหลือง ซีด ติดเชื้อ
การรักษาเเละการพยาบาล
Caput Succedanneum
ไม่มีการรักษาจำเพาะ อธิบายให้พ่อเเม่ทารกเข้าใจเพื่อคลายความวิตกกังวล อาการจะหายได้เองใน 2-3 วันเเรก
Cephalhematoma เเละ Galeal hemorrhage
ไม่มีการรักษาจำเพาะ ต้องเฝ้าสังเกตอาการอื่นเพิ่มเติม เฝ้าระวังเเละรักษาภาวะช็อกเเละภาวะซีด
การบวมน้ำของหนังศีรษะ
(Caput Succedaneum) เป็นการคั่งของน้ำ
สาเหตุ
ศีรษะถูกกดกับปากมดลูกที่เปิดไม่หมดหรือจากการใช้ Vacuum Extraction
การตรวจพบ
พบได้ทันทีหลังคลิด ขอบเขตไม่ชัด กดบุ๋ม บวมข้ามsutureหายใน2-3วัน
การบาดเจ็บของเเขนงประสาทเเขน(Brachial plexus injury)
สาเหตุ
เกิดจากการที่รากประสาทจากคอตลอดไหล่ไปสู่แขน ถูกดึงยืดหรือกดมาก จะพบในทารกที่คลอดยากบริเวณแขนและไหล่
ชนิดของการบาดเจ็บของเเขนงประสาทเเขน
อัมพาตของประสาทกล้ามเนื้อแขนส่วนบน
เกิดจากการได้รับอันตรายต่อส่วนบนของเส้นประสาทระดับคอที่บริเวณ C5 - C6 เสียหน้าที่เป็นอัมพาต อาการและอาการแสดง ทารกจะมีอาการกล้ามเนื้อแขนอ่อนแรงกล้ามเนื้อ ได้แก่ abductors, external rotators, extensors ของไหล่ และกลุ่ม flexors, supinator ของแขน ดังนั้น ไหล่ของทารกมักจะอยู่ในท่า adduction แขนจะอยู่ในท่าชิดลําตัวการ รักษาพยาบาล จัดแขนของทารกให้อยู่ในท่ายอมแพ้ (Abduction 90 degree/external rotation of shoulder/flexion elbow 90 degree) ไม่ให้เคลื่อนไหวเป็นพักๆ
อัมพาตของประสาทกล้ามเนื้อแขนส่วนล่าง
เกิดจากการได้รับอันตราย เส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณ C7- C8 และ T1 ทําให้กล้ามเนื้อบริเวณ มือของเด็กขยับไม่ได้ พบได้ค่อนข้างน้อยอาการและอาการแสดง ทารก จะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อกลุ่ม flexors ของข้อมือและนิ้ว รวมถึงมัดกล้ามเนื้อมือกล้ามเนื้อมือเป็นอัมพาต wrist drop งอมือและกํามือไม่ได้ grasp reflex ของ ทารกจะหายไปการ รักษาพยาบาล ให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่เคลื่อนไหว จัดแขนให้อยู่ในท่ากางหมุนออก ศอกงอตั้ง ฉากกับลําตัวโดยยกแขนระดับศีรษะท่ายอมแพ้ (Abduction 90 degree/external rotation of shoulder/flexion elbow 90 degree)ไม่ให้เคลื่อนไหวเป็นพักๆ เพื่อให้กล้ามเนื้อหย่อนตัวและ เส้นประสาทไม่ถูกกดเพิ่มขึ้น
อัมพาตของแขนงประสาทแขนทั้งหมด
เกิดจากการบาดเจ็บของแขนงประสาทแขนที่ระดับ C5-T1พยากรณ์โรค ของการบาดเจ็บกลุ่มนี้ไม่ดีนัก สมควรได้รับการผ่าตัดเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้
Brachial Plexus
คือ เส้นประสาทแต่ละเส้นที่ออกจากไขสันหลังมารวมกันเป็น กลุ่มประสาทที่อยู่บริเวณใกล้ๆ คอ และเชื่อมระหว่างคอกับกระดูกไหปลาร้า แต่อยู่ใต้กระดูกไหปลาร้า เป็นเส้นประสาท จาก C5 จนถึง T1 (cervical nerve 5- thoracic nerve 1) ซึ่งกระจายกันออกไปสู่แขน
หลักการรักษาพยาบาล
ช่วยออกกำลังกายเเขนเเละข้อต่างๆ ก่อนจัดท่า
ไม่ควรอุ้มทารกขึ้นจากเตียงบ่อยๆ
จัดท่านอนให้เหมาะสม หรือใส่เฝือกโลหะกางเเขนวันละ 3 ครั้ง เพื่อป้องกันการบาดเจ็บเพิ่มควรทำในช่วงนอน
กระดูกไหปลาร้าหัก (Clavicular fracture)
การตรวจพบ
อาจไม่พบอาการถ้ากระดูกไม่เเยกจากกัน ไม่ค่อยปวด ยกเเขนได้ปกติ ถ้ากระดูกเเยกบริเวณที่หักได้ยินเสียงกรอบเเกรบ ร้องปวด
การรักษา
ทำให้กระดูกอยู่นิ่งๆในท่าที่กระดูกทั้งสองชิ้นไม่ห่างกันใช้เวลารักาา 2-3 อาทิตย์โดยไม่ต้องผ่าตัด
พบบ่อยสุด
สาเหตุ
มักเกิดในเด็กโตคลอดติดไหล่หรือคลอดท่าก้น
การพยาบาล
วางเเขนอยู่ในตำเเหน่งที่เหมาะสม ลดกิจกรรมหรือสิ่งกระตุ้น ระมัดระวังการอุ้ม
กระดูกต้นเเขนหัก
(Fracture humorous)
การรักษา
ทำให้ทารกไม่เจ็บปวด ให้กระดูกอยู่นิ่งๆด้วยการใส่เฝือก
การพยาบาล
จำกัดกิจกรรมหรือสิ่งกระตุ้นที่จะรบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สร้างสัมพันะภาพที่ดีระหว่างบิดามารดาเเละทารก
กรณีใส่เฝือก ดูเเลเรื่องการใส่เฝือกเเละอาการข้างเคียง
กรณีกระดูกร้าว ตรึงเเขนที่หักโดยใช้ผ้าพันเเขนให้เเนบติดกับลำตัว ข้อศอกงอ 90 องศา เเขนช่วงล่างเเละมือพาดขวางลำตัว 1-2 สัปดาห์
เปิดโอกาสให้บิดามารดาได้ซักถามเเละระบายความรู้สึก
การตรวจพบ
ทารกไม่งอเเขน ไม่เคลื่อนไหวเเขนข้างที่หัก บวมหรือผิดรูป
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ (Sternocleidomastoid injury)
อาการแสดง
คลําพบก้อนบริเวณกลางกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ตั้งแต่แรกเกิด ไม่เกิน 10 – 14 วัน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร ค่อยๆยุบลงเมื่ออายุ 5-8 เดือน มีอาการคอเอียง
การรักษา
จัดให้ทารกนอนหงาย จับศีรษะทารกให้หันไปทางตรงกันข้ามกับก้อน วันละหลายๆคร้ังกระตุ้นทารกให้หันมองวัตถุในทางตรงกันข้ามกับก้อน จับทารกนอนตะแคงข้างที่คอเอียง ทําติดต่อกันอย่างน้อย 6 เดือน ผ่าตัดเมื่ออาการไม่ดีขึ้น