Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
ภาวะตกเลือดในระยะก่อนคลอดระยะแรกของการตั้งครรภ์
Threatened abortion
ปากมดลูกปิด ปวดท้องน้อย ทารกมีชีวิตอยู่ ตั้งครรภ์ต่อได้
Inevitable abortion
ปากมดลูกเปิด ปวดท้องน้อย ทารกไม่มีชีวิต ตั้งครรภ์ต่อไม่ได้
Incomplete abortion
ปากมดลูกเปิด ปวดท้องน้อย ชิ้นส่วนการตั้งครรภ์บางส่วนออกมา
abortion
complete abortion
ชิ้นส่วนการตั้งครรภ์ออกมาทั้งหมด ปากมดลูกปิด
Missed abortion
ชิ้นส่วนการตั้งครรภ์ค้างในโพรงมดลูก วัน/สัปดาห์ ปากมดลูกปิด
Habitual abortion
แท้งติดต่อกันตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
Septic abortion
การติดเชื้อในโพรงมดลูกที่เป็นผลมาจากการแท้ง
การพยาบาล
แท้งคุกคาม(Threatened abortion) แท้งอาจิณ(Habitual abortion)
.ให้การรักษาเพื่อให้เลือดหยุดไหล
ฺBed rest 24-48 ชม. อาจพิจารณาให้ยานอนหลับอย่างอ่อน ยาระงับปวด morphine หรือ pethidine ห้ามใช้ยาระบาย
ลดการกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก งด PV,PR งดร่วมเพศ งดทำงานหนัก
เลือดหยุดไหล 1 ชม. ติดตาม U/S เพื่อประเมินการเพิ่มขนาดของ gestational sac และตรวจ FHS
แท้งหลีกเลี่ยงไม่ได้ แท้งไม่ครบ แท้งครบ แท้งค้าง
ให้การรักษาเพื่อยุติการตั้งครรภ์
เร่งคลอดโดย Misoprostol plostaplandin A2 เหน็บทางช่องคลอด หรือใช้ยา oxytocin ผสมในสารน้ำหยดเข้าหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดส่งตรวจ และเตรียมเลือดให้พร้อม
ประเมินสัญญาณชีพ ปริมาณเลือดที่ออก ปริมาณน้ำเข้า-ออก การหดรัดตัวของมดลูก และอาการปวด
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
ตรวจอัลตราซาวด์ยืนยันว่าไม่มีชิ้นส่วนค้างอยู่ในโพรงมดลูก
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
อาการ
กดเจ็บบริเวณปีกมดลูก
กดเจ็บบริเวณอุ้งเชิงกราน หรือกดเจ็บบริเวณหน้าท้อง
เจ็บเมื่อโยกปากมดลูก อาการปล่อยเจ็บ
หน้าท้องโป่งตึง มดลูกโตเล็กน้อยและนุ่ม
พบชิ้นส่วน ของเยื่อบุโพรงมดลูกหลุดมาอยู่ในช่องคลอด
ไข้ต่ำๆ
การพยาบาล
สิ้นสุดการตั้งครรภ์ทันที C/S
ดูแลพักผ่อนบนเตียง bed rest
สังเกตปริมาณเลือดที่ออก โดยการคาดคะเนจากเลือดที่ชุ่มผ้าอนามัย
เจาะเลือดส่งตรวจ โดยเฉพาะค่า CBC
ให้คำแนะนำวางแผนครอบครัว
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ shock
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้เลือดทดแทน
obs.V/S ทุก15 นาที
ครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy)
อาการ
เม็ดโมลหลุดออกทางช่องคลอด
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
แพ้ท้องรุนแรง
ครรภ์เป็นพิษ/คพอกเ็นพิษ
U/S พบ snow stom หรือ ถุงน้ำรังไข่
การพยาบาล
สิ้นสุดการตั้งครรภ์ทันที
ขูดมดลูกร่วมกับการให้ oxytocin
ดูแลพักผ่อนบนเตียง bed rest
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกโดยการคาดคะเนจากเลือดที่ชุ่มผ้าอนามัย
เจาะเลือดส่งตรวจโดยเฉพาะค่า CBC และฮอร์โมน HCG
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ shock
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้เลือดทดแทน
Observe v/s ทุก 15 นาที
คุมกำเนิดด้วยยาเม็ดคุมกำเนิด อย่างน้อย 1 ปี
ภาวะตกเลือดในระยะก่อนคลอดระยะหลังของการตั้งครรภ์
รกเกาะต่ำ(placenta previa)
อาการ
ไม่มีอาการเจ็บท้อง
คลำพบทารกผ่านทางหน้าท้อง
มีเลือดสีแดงสด
แบ่งเป็น 4 ชนิด
Marginal placenta previaขอบรกเกาะที่ขอบ internal osพอดี
Partial placenta previaขอบรกคลุมปิด internal osเพียงบางส่วน
Low –lying placenta รกที่ฝังตัวบริเวณ lower uterine segment ขอบรกยังไม่ถึง internal osของปากมดลูกแต่อยู่ใกล้ชิดมาก
Total placenta previaรกคลุมปิด internal osทั้งหมด
แนวทางการรักษา
Admit สังเกตอาการตกเลือด และดูแลอย่างใกล้ชิดในห้องคลอด
ถ้าเลือดออกลดลง ไม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิตอยู่ประคับประคองให้ GA ครบกำหนด
ห้าม PV/PR/ สวนอุจจาระ
NPO ให ้IV สังเกตเลือดที่ออก
ตรวจ Hctและจองเลือดให้พร้อมใช้
บางรายถ้ามีอาการเจ็บครรภ์ร่วมด้วย อาจได้รับยายับยั้งการคลอดเพื่อยืดอายุครรภ์
ถ้าเลือดออกมากหรือออกนานหรือเจ็บครรภ์หรือทารกตายในครรภ์หรือครบกำหนดให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยการคลอด
C/S กรณี Total placenta previaหรือ เลือดออกมาก fetal distress
หลังคลอดให้ยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก ป้องกันPPH
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruption placentae)
อาการ
มีอาการปวดท้องร่วมด้วย
คลำไม่พบทารกผ่านทางหน้าท้อง
การเสียเลือดอาจไม่สัมพันธ์กับเลือดที่ออก
มีเลือดสีคล้ำ
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Concealed หรือ internal hemorrhage คือ รกลอกตัวแล้วเลือดคั่งอยู่หลังรกไม่ ออกมาทางช่องคลอดให้เห็นชัดเจน พบได้น้อยกว่า
Revealed หรือ external hemorrhage คือ รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออกมาทาง ปากมดลูกและช่องคลอด พบได้บ่อยกว่า
Mixed หรือ combined hemorrhage ชนิดนี้พบได้มากที่สุด
แนวทางการรักษา
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน และความ ไม่สมดุลย์ของอีเลคโตรไลท์
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วและอย่างปลอดภัยเจาะถุงน้ำคร่ำเมื่อไม่มีข้อห้าม ไม่จำเป็นต้องให้ oxytocin
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ควรทำเฉพาะในรายที่มีข้อบ่งชี้ เช่น fetal distress หรือความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น
นางสาวจิราพร ผันสืบ รหัสนักศึกษา602701009 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่3 รุ่นที่35