Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน บ้านพงสะตือ ตำบลบ้านแก่ง อำเภอตรอน…
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
บ้านพงสะตือ ตำบลบ้านแก่ง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลตนเอง
ชาวบ้านได้รับรู้และทราบปัญหาของชุมชน จึงเกิดความตระหนัก และกระตือรือร้น ในการที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหา
ชาวบ้านมีความสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการของ ชุมชน
ชุมชนได้มองเห็นผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากที่ได้ให้ชาวบ้านเข้าร่วมโครงการ
ชาวบ้านมีสุขภาพกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี
ชุมชนได้มีการติดตามประเมินผลโดยให้ อสม ตรวจวัดความดันโลหิต และตรวจเลือดปลายนิ้วอย่างสม่ำเสมอ
ชุมชนเกิดบุคคลตัวอย่างคือ ชาวบ้านที่เป็นโรคเบาหวานแล้วหันมาปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานจึงทำให้ชาวบ้านที่เป็นโรคและไม่เป็นเป็นโรคหันมาเปลี่ยนพฤติกรรมการกินกัน
ชุมชนมีรูปแบบการมีส่วนร่วมแบบประสานความร่วมมือ
มีการจัดตั้งสภาผู้นำของชุมชน
มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ของชุมชน
ผู้นำ และทีมสภาผู้นำของชุมชน ได้เข้าร่วมอบรมและรับฟังความรู็จากทางภาครัฐ เพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับชาวบ้าน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
ชุมชนได้เข้าร่วมกับโครงการของ สสส
ชุมชนได้มีการร่มกลุ่มจัดตั้งสภาผู้นำขึ้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กับชาวบ้าน
ชาวบ้านได้มีการทำแปลงผักปลอดสารพิษในแต่ละครอบครัว
ชาวบ้านมีความร่วมมือร่วมใจ และสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการของชุมชน
ชุมชนเป็นหมู่บ้านต้นแบบของอำเภอตรอน
ชุมชนได้มีการร่วมมือกับ สสส ในการสร้างภาคีเครือข่าย เพื่อให้ชุมชนต่างๆในอำเภอตรอนเข้าร่วมโครงการ
ชุมชนได้มีการจัดการระบบสุขภาพโดยการให้ความรู้เพื่อให้ชาวบ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของตนเอง
ชาวบ้านมีเป้าหมายร่วมกันในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินตาม โครงการของ สสส เพื่อลดอัตราการเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต และเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี
การเลือกใช้สิ่งที่เหมาะสมในการ แก้ไขปัญหาสุขภาพ
ทรัพยากร
เมล็ดพันธ์ผักสวนครัว จากการสนับสนุนของภาครัฐ
พื้นที่สาธารณะของชุมชน
พื้นที่ในบ้านของตนเอง ในการทำแปลงผักปลอดสารพิษ
เทคโนโลยี
มีการให้ความรู้ชาวบ้านในการปลูกผักสวนครัว และมีการเสริมสมุนไพรไปในแปลงผัก
มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ของชุมชน เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมัก
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การปลูกพืชผัก สวนครัวไว้ใช้รับประทานเองอย่างน้อย 5 ชนิด
การทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมัก
การสาธารณสุขมูลฐาน
ชาวบ้านเกิดความคิดและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวมากขึ้น จึงหันกลับมาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินของตนเอง
มีการจัดตั้งสภาผู้นำขึ้น เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากทางภาครัฐมาเผยแพร่กับชาวบ้าน
สภาผู้นำของชุมชน ได้มีการจัดประชุมขึ้นในทุกๆเดือน เพื่อให้ชาวบ้านได้รับรู้และทราบปัญหาของชุมชน
ชาวบ้านร่วมมือร่วมใจกัน และสมัครใจที่จะเข้าร่วมโครงการของ สสส ในการปลูกพืชผักสวนครัว และลดการใช้สารเคมี ซึ่งเป็นภูมิปัญญาและสอดคล้องกับการดำรงชีวิตของชาวบ้านทุกคน
ชุมชนไ้ด้มีการผสมผสานการปลูกพืชผักสวนครัว ร่วมกับการปลูกสมุนไพรในแปลงผัก ตามที่วิทยากรได้ให้ความรู้
ชาวบ้านแต่ละครอบครัวใช้วิธีการทำแปลงผักปลอดสารพิษไว้ในพื้นที่ของบ้านตัวเอง
ชาวบ้านทุกคนหลังจากที่ได้รับความรู้จากสภาผู้นำของหมู่บ้านแล้ว ก็สามารถดำเนินการปลูกพืชผักสวนครัวได้เอง เพราะเป็นสิ่งที่ชาวบ้านทำกันอยู่แล้ว
สสส ได้มีการแจกเมล็ดพัธุ์พืชผักสวนครัวให้กับชาวบ้าน เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ชาวบ้านมีสุขภาพที่ดี
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ภายในชุมชน
มีผู้นำที่ดี คือ ผู้ใหญ่บ้าน และ สภาผู้นำของชุมชน
ชาวบ้านคิดได้ และคิดเป็น
อสม จะคอยวัดความดันโลหิต และตรวจเบาหวานเพื่อติดตาม อย่างสม่ำเสมอ
ภายนอกชุมชน
หน่วยงานต่างๆ กำกับ ติดตาม
หน่วยงานทางสาธารณะสุข
โรงพยาบาลตรอน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส)
หน่วยงานการเกษตร
หน่วยงานการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์
อำเภอ และองค์การบริหารส่วนตำบล
นางสาวหทัยกาญจน์ เชียงบุญญะ เลขที่ 85
รหัส 601901088