Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดกับการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดกับการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ
ความหมาย
หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานที่สัมผัสกับงานหรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่เป็นพิษภัยจนเป้นสาเหตุให้สุขภาพอนามัยเสื่อมโทรมจนเจ็บป่วยเป็นโรคหรือพิการ
ชนิด
3.โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
4.โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
2.โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
5.โรคผิหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
1.โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
แนวคิดเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค
การเฝ้าระวังและการสอบสวนหาสาเหตุการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพในผู้ประกอบอาชีพเป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนดไว้ในการจัดระบบบริการดูแลสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
การเฝ้าระวัง การสอบสวนและการศึกษาวิจัย การเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจะทำให้ทราบขนาด แนวโน้ม การเกิด การกระจาย และความผิดปกติของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
อาจทำการศึกษาแบบภาคตัดขวางหรือที่เรียกว่าการศึกษาระยะสั้นหรือทำการศึกษาที่ใช้ระยะเวลายาวก็ได้
เป็นการศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบต่างๆต่อไปนี้
1.มีโรคจากการประกอบอาชีพอะไรเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดในสถานประกอบการ
2.โรคหรือปัญหานั้นๆเกิดขึ้นกับใครมีการกระจายของโรคหรือปัญหานั้นๆอย่างไร
3.โรคหรือปัญหานั้นๆเกิดขึ้นที่ใด
สนใจศึกษาเกี่ยวกับการเกิดโรคหรือปัญหาอาชีวอนามัยว่า
-เกิดกับใคร (Person)
-เกิดที่ไหน (Place)
-เกิดเมื่อใด (Time)
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์
การศึกษาแบบย้อนหลัง (Rectrospective Study or Case-Control)
การศึกษาแบบไปข้างหน้า (Prospective Study or Cohort Study)
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Sectional Study)
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงทดลอง
เป็นการศึกษาทางวิทยาการระบาดที่มีการจัดกระทำหรือกำหนดสิ่งทดลองให้กับกลุ่มที่ศึกษา
สามารถทำได้ใน 2 รูปแบบคือ การศึกาาเชิงทดลองและการศึกษาเชิงกึ่งทดลอง
เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลว่าสิ่งทดลองหรือการกระทำหรือการแทรกแซงกิจกรรมบางอย่างที่ใช้ในการศึกษานั้นมีผลต่อสิ่งที่น่าสนใจศึกษาหรือไม่อย่างไร
มีลักษณะของการทดลอง 3ประการ
1.ต้องมีการจัดกระทำ (Manipulation)
2.ต้องมีการควบคุม (Control)
3.ต้องมีการสุ่ม (Randomization)
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรคในสถานประกอบการ
2.เพื่อศึกษาลักษณะทางวิทยาการระบาด
1.เพื่อยืนยันการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
5.เพื่อประเมินสถานการณ์และความรุนแรง
6.เพื่อหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรค
4.เพื่อค้นหาผู้ปฏิบัติงานที่ป่วยหรือผู้ที่เสี่ยงเพิ่มเติม
3.เพื่อหาสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค
รูปแบบการเฝ้าระวังสุขภาพในสถานประกอบการ
การเฝ้าระวังเฉพาพื้นที่
การสำรวจเป็นระยะๆ
การเฝ้าระวังเชิงรับ
การเฝ้าระวังโดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากแหล่งอื่นๆ
การเฝ้าระวังเชิงรุก
รูปแบบการสอบสวนโรคในสถานประกอบการ
การสอบสวนการระบาด
การสอบสวนเฉพาะราย
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังโรคจาการประกอบอาชีพ
4.เพื่อประเมินประสิทธิผลการป้องกันและควบคุมโรค
2.เพื่อประเมินและพยากรณ์แนวโน้ม
3.เพื่อทราบข้อมูลการเกิดโรค
1.เพื่ออธิบายสถานะสุขภาพ