Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการป้องกันและควบคุมโรค - Coggle Diagram
หลักการป้องกันและควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อ
2.ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคของคนในชุมชน
3.กำจัดสิ่งที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรค
1.ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนมีความต้านทานโรค
4.ควบคุมสิ่งแวดล้อมมิให้เอื้อต่อการเกิดโรค
แนวคิดการป้องกันและควบคุมโรค
โดยยึดปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
การเกิดโรคในชุมชนจากการเสียสมดุลระหว่างปัจจัยสำคัญ 3ประการ คือ คน(Host) สิ่งที่ทำให้เกิดโรค(Agent) สิ่งแวดล้อม(Environment) ดังนั้นจึงต้องทำให้ปัจจัยทั้ง 3 ให้กลับสู่สภาวะสมดุลให้เร็วที่สุด
โดยยึดตัวหลักธรรมชาติ
2.การป้องกันขั้นปฐมภูมิ
3.การป้องกันขั้นทุติยภููมิ
1.การป้องกันขั้นก่อนปฐมภูมิ
4.การป้องกันขั้นตติยภูมิ
โดยยึดเวลาการเกิดโรค
2.การป้องกันระยะโรคเกิดและระยะโรคระบาด
3.การป้องกันระยะหลังเกิดโรค
1.การป้องกันโรคล่วงหน้า
การกำหนดมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรค
ปัจจัยสำคัญต่อการเกิดโรคในชุมชน
1.สิ่งที่ทำให้เกิดโรค
2.การแพร่กระจายโรค
3.กลุ่มบุคคลที่ไวต่อการรับ
มาตรการป้องกันและควบคุมโรค
1.กำจัดหรือลดสาเหตุและแล่งรังโรคในชุมชนให้หมดไปหรือให้เหลือน้อยที่สุด
2.ลดจำนวนประชากรที่ไวต่อการรับโรค
3.ยับยั้งการแพร่กระจายของโรค
ประเภทของมาตรการป้องกันและควบคุมโรค
2.มาตรการรองหรือมาตรการสนับสนุน
1.มาตรการหลักหรือมาตรการเฉพาะโรค
แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ
2.การป้องกันในระยะมีโรคเกิด : เป็นการป้องกันขั้นทุติยภูมิ จุดมุ่งหมายคือ การระงับกระบวนการดำเนินของโรค
3.การป้องกันหลังการเกิดโรค : การป้องกันขัั้นตติยภูมิ เป็นการป้องกันการเกิดความพิการ/ไร้สมรรถภาพ การบำบัดความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย
1.การป้องกันโรคล่วงหน้า : การป้องกันโรคแบบทั่วไป การป้องกันโรคแบบเฉพาะอย่าง การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ปัจจัยสำคัญต่อการเกิดดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค
1.สนับสนุนทางนโยบาย ระดับชาติ
2.สนับสนุนของชุมชน/สังคม การมีส่วนร่วมของชุมชน
4.สนับสนุนด้านทรัพยากร ด้านกำลังคน งบประมาณ วิชาการ แผนจัดการและสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
3.สนับสนุนด้านบริหาร ใช้กฎหมายการแยก-กักกันผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค
แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไร้เชื้อ
1.การป้องกันโรคล่วงหน้า : การกำหนดนโยบายของรัฐ การป้องกันโรคทั่วไป-การให้สุขศึกษา การเฝ้าระวังโรคทางวิทยาการระบาดเป็นการดำเนินเฝ้าระวังการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การป้องกันในระยะมีโรคเกิด : การค้นหาผู้ป่วยให้พบในระยะเริ่มป่วย การวินิจฉัยโรค การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการทดสอบต่างๆ
3.การป้องกันหลังเกิดโรค : การจำกัดความพิการ การฟื้นฟูสภาพ