Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดกับการป้องกันและควบคุมสาธารณภัย - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดกับการป้องกันและควบคุมสาธารณภัย
ความหมายของสาธารณภัย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับประชาชนจำนวนมาก และไม่สามารถคาดการณ์ได้แน่นอน
เกินขีดความสามารถของหน่วยบริการในพื้นที่นั้นๆจะระงับและแก้ไขได้โดยลำพัง
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการสูญเสียต่อชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวางและรุนแรง
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งในบุคคลหรือกลุ่มคน
ผลกระทบที่เป็นความสูญเสียของประเทศทางเศรษฐกิจสังคมและการเมือง
ทั้งที่ได้รับผลจากภัยทั้งร่างกาย จิตใจ ชีวิตและทรัพย์สิน
ประเภทของสาธารณภัย
ตามแนวคิดแบบคลาสสิก
สาธารณภัยธรรมชาติ
สาธารณภัยจากการกระทำของมนุษย์
ตามแนวคิดใหม่
สาธารณภัยจากเทคโนโลยี
สาธารณภัยซับซ้อน
สาธารณภัยธรรมชาติ
การจัดการสาธารณภัย
งบประมาณทรัพยากร
การมีส่วนร่วมของประชาชน
นโยบายของรัฐบาล
ศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ความตระหนักของสังคม
ความต่อเนื่องในการจัดการ
การจัดการระยะก่อนเกิดสาธารณภัย
การกระจายข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างการรับรู้สู่สาธารณะ
การกำหนดนโยบายการจัดการสาธารณภัย
การประเมินลักษณะและวิเคราะห์ผลกระทบของสาธารณภัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
การป้องกันเพื่อลดผลกระทบจากสาธารณภัย
ภัยธรรมชาติ
บางครั้งอาจเกิดขึ้นกะทันหัน
ตัวอย่างภัยธรรมชาติ : พายุ ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว สึนามิ อุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม หิมะถล่ม โรคระบาดในคนและสัตว์
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมักเกิดขึ้นตามฤดูกาล
การจัดการสาธารณภัย
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญในการจัดการขณะเกิดสาธารณภัย
การจัดการหลังเกิดสาธารณภัย : ระยะกู้ภัย ระยะบรรเทาภัย และระยะฟื้นฟูสภาพ
ความตระหนักของสังคมและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นปัจจัยสำคัญในการจัดการสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ