Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
เต้านมอักเสบ
( Mastitis )
การพยาบาล
ดูแลให้ยาปฏิชีวะและยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
งดให้ทารกดูดนมข้างที่ติดเชื้อจนกว่าการติดเชื้อจะหายไป
ประคบร้อนเต้านมก่อนให้นมและประคบเย็นเมื่อให้นมเสร็จ
ถ้ามีอาการอักเสบเกิดขึ้นต้องผ่าและเปิดทางให้หนองไหล
การติดเชื้อ Steaphylococcus Aureaus บริเวณเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆเนื้อเยื่อต่อมน้ำนม มักเกิดจากการถลอกหรือมีแผลบริเวณหัวนม
อาการ
น้ำนมออกน้อย
มีการคัดตึงของเต้านมอย่างรุนเเรง ปวดบริเวณเต้านมมาก
บริเวณเต้านม บวมเเดงร้อน เต้านมเเข็งตึง ใหญ่
ไข้สูงอย่างรวดเร็ว สูงถึง 38.4-40 c ชีพจรเต้นเร็ว อ่อนเพลีย
สาเหตุ
หัวนมแตก / หัวนมมีรอยถลอก
เต้านมคัดตึงมาก ท่อน้ำนมอุดตัน
ทารกดูดน้ำนมออกไม่เกลี้ยงเต้า มีน้ำนมค้างในเต้านม
มีการระบายน้ำนมออกไม่สมดุลกับปริมาณน้ำนมที่ร่างกายสร้าง
การบวมคั่งของเลือด (Hematoma)
เป็นภาวะที่มีการฉีกขาดของเส้นเลือดดำบริเวณเนื้อเยื่อเกี่ยวพันของอวัยวะสืบพันธ์ทำให้มีเลือดคั่ง
การพยาบาล
พยาบาลหลังคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันที ตามแนว REEDA
หากก้อนมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 ซม.ให้ประคบเย็น
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพิ่มขนาดมากขึ้นต้องแก้ไขในห้องผ่าตัด
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์โดยเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังห้ามเช็ดย้อน
ควรเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2-3 ชั่วโมง
สาเหตุ
คลอดเองโดยไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
ตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
เส้นเลือดฉีกขาดไม่ได้ซ่อมแซม
อาการ
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ
พบก้อนบวม โป่งแข็งที่แผลฝีเย็บ
ถ้าเลือดคั่งที่ตำ่กว่า urogenital diaphragm จะดันแผลฝีเย็บนูนที่ทวารหนักและก้นกบ
ปัสสาวะไม่ได้
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
( Postpartum blues )
สภาวะจิตใจหลังคลอด อาการมักเกิดขึ้นในวันที่ 4-5 วันหลังคลอดแต่ไม่เกิน 2 สัปดาห์
อาการ
รู้สึกเศร้า
อยากร้องไห้
นอนไม่หลับ
วิตกกังวลง่าย
อ่อนเพลีย
การพยาบาล
ให้ความมั่นใจและกำลังใจ
ควรติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
ติดเชื้อแบคทีเรีย มีไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียส อย่างน้อย 2 ครั้งในระยะ 10 วันแรกหลังคลอด
สาเหตุ
การผ่าตัดคลอดบุตร
การตรวจภายในมากเกินไป
มีภาวะถุงน้ำคร่ำเเตกก่อนการเจ็บครรภ์อยู่นาน
ภาวะซีด (Anemia )
อาการ
ปวดท้องน้อย
นำ้คาวปลามีกลิ่นเหม็นและไหลนานกว่าปกติ
มีไข้ อุณหภูมิ 38-39 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
การประเมินสัญญาณชีพเเละบันทึกทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวเเละระดับของมดลูกรวมทั้งลักษณะ ปริมาณ สี เเละ กลิ่นน้ำคาวปลา
พักผ่อนเเละได้รับสารน้ำเเละอาหารที่เพียงพอ
มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolutionof Uterus)
เป็นภาวะที่มดลูกมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่ภาวะก่อนการตั้งครรภ์ที่ยาวนานผิดปกติ โดยประเมินจากระดับมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน 3 วัน
สาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี, มีเศษรก, มีก้อนเนื้องอกภายในโพรงมดลูก, การติดเชื้อในโพรงมดลูก, ครรภ์แฝด ครรภ์น้ำ ทารกตัวโต
ทารกไม่ได้ดูดนมมารดา
การผ่าคลอด
มีการติดเชื้อภายในมดลูก
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน 2 ชม.
ดูแลกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม/.
ประเมินระดับมดลูก
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ดูแลเพื่อขูดมดลูกและการได้รับสารน้ำ
อาการแสดง
มดลูกมีขนาดใหญ่และอ่อนนุ่ม
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงตามปกติ
มีอาการปวดมดลูกผิดปกติเกิน 72 ชม.
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
( Postpartum depresstion )
ความผิกปกติด้านจิตใจ อารมณ์ และการรับรู้ลดลง มีมักเกิดขึ้นภายใน 4 สัปดาห์ มีอาการนาน 2 สัปดาห์
อาการ
วิตกกังวลไม่มีเหตุผล
ขาดความสนใจในตัวลูก
มีความคิดจะฆ่าตัวตาย
ฉุนเฉลียวง่าย
ปัญหาทางการนอนเช่น นอนไม่หลับหรือนอนมากเกินไป
การพยาบาล
ประเมินอาการเบื้องต้นทันทีทุกราย เมื่อมีอาการผิดปกติหลังคลอด ให้แยกลูก
สร้างความเข้าใจการป่วยแก่สามี
ส่งเสริมสุขภาพมารดาเเละทารก
บำบัดด้วยยา กลุ่ม selective serotonin
นางสาวธันยพร เครืออ้อย เลขที่ 36 603101036