Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดปละการควบคุมสาธารณภัย - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดปละการควบคุมสาธารณภัย
ความรู้พื้นฐาน
ความหมาย
ทำให่เกิดการสูญเสียต่อชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม
เกิดกับประชาชนจำนวนมากและไม่สามารถคาดการณ์ได้แน่นอน
เกินขีดความสามารถของหน่วยบริการในพื้นที่นั้นๆ จะแก้ไขโดยลำพัง
ผลกระทบ
เกิดความสูญเสียในบุคคลและกลุ่มคน
รับผลจากภัยทั้งร่างกาย จิตใจ ชีวิตและทรัพย์สิน
ทางเศรษฐกิจสังคมและการเมือง
ประเภท
ตามแนวคิดแบบคลาสสิก
สาธารณภัยธรรมชาติ
สาธารณภัยจากการกระทำของมนุษย์
ตามแนวคิดใหม่
สาธารณภัยธรรมชาติ
สาธารณภัยจากเทคโนโลยี
สาธารณภัยซับซ้อน
สาธารณภัยที่พบ
อุทกภัย
ภัยจากดินโคลนถล่ม
วาตภัย
อัคคีภัย
ภัยจากสารเคมี
และภัยอื่นๆ
การจัดการ
ระยะก่อนเกิดสาธารณภัย
ประเมินลักษณะและวิเคราะห์ผลกระทบ
การกระจายข้อมูลข่าวสาร
กำหนดนโยบาย
ป้องกันเพื่อลดผลกระทบ
การจัดการสาธารณภัย
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญ
จัดการหลังเกิด ระยะกู้ภัย ระยะบรรเทาภัย และระยะฟื้นฟูสภาพ
ความตระหนักของสังคมและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ภัยธรรมชาติ
เกิดขึ้นเองตามฤดูกาล
เกิดขึ้นกระทันหัน
การจัดการอุทกภัยและดินโคลนถล่ม
เตรีมพร้อมรับเหตุการณ์
ป้องกันก่อนเกิด เช่นสร้างคันกั้นน้ำ
อพยพหรือหลีกเลี่ยง
สึนามิ
คลื่นน้ำเกิดจากการเคลื่อนย้ายของปริมาตรน้ำขนาดใหญ่
ขยับตัวของเปลือกโลก แผ่นดินไหวการปะทุของภูเขาไฟ
แผ่นดินไหว
การสั่นสะเทือน
ไม่สามารถพยากรณ์ได้แม่นยำ
ความรุนแรง 5.0 ริกเตอร์ขึ้นไป
โรค
โรคติดต่ออันตราย ราชกิจจานุเบกษาประกาศกระทรวงสาธารณสุข 2559
กาฬโรค
ไข้ทรพิษ
ไข้เลือดออกโครเมียนคองโก
ไข้เวสต์ไนล์
ไข้เหลือง
ไข้ลาสซา
ไวรัสนิปาห์
ไวรัสมาร์ปาห์
ไวรัสอีโบลา
ไวรัสซาร์ส
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางหรือเมอร์ส
โรคติดต่ออุบัติใหม่/โรคติดต่ออุบัติซ้ำ
โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่
เชื้อก่อโรคที่ดื้อยาต้านจุลชีพ
มาตรการป้องกันและควบคุม
Primordial Prevention
ศักยภาพภาครัฐ ศักยภาพประชาชนชุชน ระบบกลไกการบริหารจัดการแบบบูรณาการ การบิหารจัดการในพื้นที่การวิจัย
Primary Prevention
เครือข่ายเฝ้าระวังโรค ความร่วมมือในการป้องกันกับภาคส่วนต่างๆ
Secondary Prevention
ศักยภาพในการรักษา