Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินหัวใจและหลอดเลือด และทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินหัวใจและหลอดเลือด และทางเดินอาหาร
หัวใจและหลอดเลือด
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Ischemic heart disease
โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน
อาการสำคัญที่พบได้บ่อย เช่น อาการเจ็บเค้นอก ใจสั่น เหงื่ออก เหนื่อยขณะออกแรง
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่
มีอาการเจ็บเค้นอกเป็นๆหายๆ อาการไม่รุนแรง
นาน 3-5 นาที
พักแล้วหาย หรืออมยา เป็นมานานกว่า2เดือน
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน
เจ็บขณะพัก นานกว่า 20 นาที
เจ็บเกิดขึ้นใหม่ รุนแรงกว่าเดิม
ST elevation acute coronary syndrome
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads หรือเกิด LBBBขึ้นมาใหม่จากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
NON ST elevation acute coronary syndrome
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิดที่ไม่พบ ST segment elevation
มักพบลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression หรือ T waveร่วมด้วย
อาการเจ็บเค้นอก Angina
เจ็บหนักๆเหมือนมีอะไรมาทับ ใต้กระดูกsternum
อาจมีร้าวไปบริเวณคอกราม ไหล่และแขนทั้ง2ข้าง
เป็นมากขณะออกกำลัง
นานครั้งละ 2-3นาที พักหรืออมยาอาการจะเบาลง
การพยาบาล
นอนพักในที่ที่อากาศถ่ายเทสะดวก
ให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังEKG O2sat Vital sign ทุก 15 นาที
ให้ แอสไพริน (325mg) 1เม็ด
Isordil 5 mg อมใต้ลิ้น
หากอาการไม่ดีขึ้นให้มอร์ฟีน
เตรียมความพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
บทบาทพยาบาลฉุกเฉิน
ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤต
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
Onset ระยะเวลาที่เกิดขึ้น
Precipitate cause สาเหตุชักนำและอาการทุเลา
Quality ลักษณะของอาการเจ็บอก
Refer pain อาการเจ็บร้าว
Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บแน่นอก
Time ระยะเวลาที่เป็น
ประสานงาน ทีมดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือด ช่องทางด่วนพิเศษ ACS fast track
ให้ออกซิเจน แนะนำให้ routine oxygen ในผู้ป่วยที่มี SaO2>90%
การตรวจEKG และแปลผล
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด Cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevationหรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
เข้ารับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดอย่างเร่งด่วน
ไม่มี PCI center พิจารณา refer
ถ้าทันเวลาสามารถทำ PCI ได้ภายใน 90 นาที
พิจารณาให้ fibrinolysis drug ภายใน 10 นาที
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
9.ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
Pulmonary embolism PE
การไหลเวียนเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวเป็นเวลานาน
มีความผิดปกติของเลือดที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
มีผนังหลอดเลือดดำที่ผิดปกติเกิดจากมีlocal trauma
อาการแสดงทางคลินิก
หายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกระทันหัน
ใจสั่นแน่นหน้าอก
หน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ
ผู้ป่วยจะมีอาการไอเป็นเลือด
ฟังปอดได้ยินเสียงwheezing หรือ pleural rub
การรักษา
Anticoagulation
Thrombolytic therapy
Caval filter
ทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้อง
เป็นสาเหตุที่เสียชีวิตอันดับ1 ภาวะเลือดออกในช่องท้อง ช่องอุ้มเชิงกราน
การวินิจฉัยที่รวดเร็วจะช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยมากขึ้น
ผู้ป่วยกลุ่มนี้หากพบอาการ Hypovolemia ให้พิสูจน์ว่าไม่มีการบาดเจ็บช่องท้องแน่นอนผู้ป่วยจึงจะปลอดภัย
สาเหตุ
Blunt abdominal injury การบาดเจ็บของตับ ม้าม
การบาดเจ็บที่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผล
gun short wound ส่วนใหญ่ต้องรับการผ่าตัด
stab wound วัตถุคาอย่าดุงออก
อาการและอาการแสดง
อาการปวด จาการฉีกขาดของผนังหน้าท้อง และอวัยวะภายใน
การกดเจ็บเฉพาะที่(ประเมินยาก)
ท้องอืด
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
ช็อกจากการตกเลือด
ภาวะฉุกเฉิน
ภาวะเลือดออก เกิดจากการเสียเลือดอย่างรวดเร็ว
ภาวะแทรกซ้อน เกิดการบวมของเซลล์,ทำให้เซลล์ขากออกซิเจน,เนื้อเยื่อต่างๆขาดเลือด
ภาวะฉีกขาดทะลุ Perforate
ทำให้มีการรั่วของอาหาร น้ำย่อยเข้าไปในช่องท้องเกิดการอักเสบติดเชื้อ
การประเมินผู้ป่วย
A: มีการประเมินภาวะของ airway obstruction, foreign bodies, facial, mandibular or tracheal
B: ดูภาวะ apnea ภาวะupper airway obstruction
C: ประเมินชีพจรและการเสียเลือด หรือพาวะhypovolemic shockอย่างรวดเร็ว
D: การประเมิน neurological status
E: การถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยเพื่อหาร่อยรอยบาดแผลที่ชัดเจน เช่นบริเวณหลัง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันทางเดินหายใจ
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด
ผู้ป่วยมีแนวโน้มที่จะเกิด hypovolemic shock
ใส่สายสวนปัสสาวะ ใส่NG tube
ดูแลให้ได้รับยา เจาะเลือดหาค่าฮีโมโกลบิน
การบรรเทาความเจ็บปวด
ลดความวิตกกังวล
เฝ้าระวัง ประเมินเบื้องต้น\ข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติ\ประเมินซ้ำ