Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6.1 การติดเชื้อของระบบอวัยวะสืบพันธ์ - Coggle Diagram
5.6.1 การติดเชื้อของระบบอวัยวะสืบพันธ์
ซิฟิลิส(Syphilis)
Treponema pallidum
มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็กๆ
เกิดการอุดตันของรูหลอดเลือด ผิวหนังขาดเลือดตายและเกิดเป็นแผล
แพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
: :<3:แพร่ผ่านรกรกโดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด
การวินิจฉัย
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจเลือด
VDRL
FTA-ABS
อาการและอาการแสดง
Stage 1 :red_flag:หลังรับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
Stage 2 :red_flag: ผื่นทั่วตัว ฝ่ามือฝ่าเท้า ไข้ ปวดตามข้อ ข้ออักเสบ ต่มน้ำเหลืองโต ผมร่วง
Stage 3
Latent :red_flag: ไม่แสดงอาการ
Tertiary :red_flag: ทำลายอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ หลอดเลือดสมอง
ภาวะแทรกซ้อน :warning: Congenital syphilis
ระยะแรก:หลังคลอด-1ปี
ผิวหนังฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอก เสียงแหลม
"wimberger's sign" ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
LBW. ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะหลัง :อายุมากกว่า 2 ปี
ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ(Hutchinson's teet)
หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูฯ กระดูกขาโค้งงอผิดรูป
แก้วตาอักเสบ(interstitil keratitis)
การรักษา
ระยะต้น :check: ให้ยา benzathine pennicilin G 2.4 mU IM ครั้งเดียวแบ่งฉีดสะโพกข้างละ 1.2 mU **อาจลดอาการปวดผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
ระยะปลาย :check: ให้ยา benzathine penicilin G 2.4 mU IM สัปดาห์ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพกข้างละ 1.2 mU
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
หากมีอาการติดเชื้ดูแลให้ได้รับATB ตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ6 และ 12 เดือน
ส่งคัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภื 28-32 สัปดาห์หรือห่าอย่างน้อย 3 เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
อธิบายความสำคัญของการคัดกรอง ความเสี่ยงของโรค ผลต่อทารกในครรภ์
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution
โดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนำรับประทานยาและกลับมาตามนัด
ให้นมได้ตามปกติ
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่เชื้อเชื้อ
เริม(HSV type2)
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ภาวะแทรกซ้อน
Neonatal Infectin Normal delivery
ตุ่มใสๆ
ไข้ หนาวสั่น
ตาอักเสบ
ซึม
ตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพาะเชื้อ
Tzanck smear
การรักษา
การให้ยา Antiviral drug
:warning:กรณีมี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ให้ ATB และดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะตั้งครรภ์
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1%วันละ 2-3 ครั้ง แนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
หลีกเลี่ยงSI ขณะมีแผลควรใช้ถุงยางอนามัย
ลดความไมุ่ขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
ระยะหลังคลอด
ให้นมได้ปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
หูดหงอนไก่
อาการและอาการแสดง
หูดขึ้นรอบๆทวารหนัก
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
คล้ายดอกกระหล่ำ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
pap smear
การรักษา
จี้ด้วย trichloroacetic acid
จี้ด้วยไฟฟ้า แสงเลเซอร์
:<3: สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ขัดขวางช่องทางคลอด
การพยาบาล
แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา
การติดเชื้อHIV
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ต่อมน้ำเหลืองโต
นน.ลด
มีไข้
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ELISA
confirmatory test
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
:star: กลุ่มที่ 2 ไข้ ปวดเมื่อยตามตว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
:star: กลุ่มที่ 3 ไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆนาน 2-3 เดือน ปวดศีรษะ เจ็บคอบ ต่อมน้ำเหลืองโต นน.ลด
:star:กลุ่มที่1 ไม่มีอาการทางคลินิค ตรวจ ELISA ได้ผล +ve
การรักษา
ระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
รายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies/ml ไม่ต้องกินยา
ให้ AZT 300mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว
หลีกเลี่ยงการให้ methergine
หลังคลอด
ให้ยาหลังคลอดทุกราย
CD4 น้อยกว่า 500 cells/mm3
คู่มีผลเลือดลบหรือไม่ทราบผลเลือด
มีการติดเชื้อร่วม
ให้ยาในทารกแรกเกิด
AZT 4mg/kg/dose ทุก 12 hr. ให้นานต่อเนื่อง 4 wks.
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
แนะนำการปฏิบติตัวเมื่อกลับบ้าน
: : :warning:งดให้นมบุตร
จัดให้อยู่ในห้องแยก
: :<3:ทารกหลังคลอดให้ nPV 2 mg/kg ทันที และให้ AZT 2 mg/kg/day และติดตามการติดเชื้อหลังคลอด 12-18 เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
แนะนำวิธีการปฏิบติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ตรวจระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 cells/mm3 พิจารณาให้ PCP