Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด, นางสาว…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ค.หมาย:ติดเชื้อทางอวัยวะสิบพันธุ์เพศหญิง ใน 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดหรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ติดเชื้อเฉพาะที่:ติดเชื้อที่บาดแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
2.ติดเชื้อแพร่กระจายไปนอกมดลูก
อาการแสดง
มีไข้สูง 38 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่าติดต่อกัน 2 วัน ในช่วง 10 วันแรกไม่นับ 24 ชม.แรกหลังคลอด
ปัจจัยเสริมการติดเชื้อหลังคลอด
ภาวะโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนา ผู้คลอดขาดอาหาร ฐานะไม่ดี สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี มีถุงน้ำแตกนางนกว่า 12 ชม.น้ำเดินนาน 24 ชม. คลอดยาวนาน คลอดติดขัด ใช้สูติศาสตร์หัตถการ
PV บ่อย
เนื้อเยื่อทางช่องคลอดกระทบกระเทือน
Hematoma
ตกเลือดมากกว่า 1000 มล
มีรกค้าง
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
สาเหตุ:เต้านมคัดตึง ทารกดูกนมไม่ถูกวิธี ท่อน้ำนมอุดตัน
อาการ: คัดตึงเต้านม ปวดเต้านม เต้านมแดง กดเจ็บ บวม ต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้อาจโต และเจ็บ มีไข้สูง ชีพจรเร็ว หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
การป้องกัน : รักษาความสะอาดของเต้านม สวมยกทรงที่พอเหมาะช่วยพยุงเต้านม ทำความสะอาดเต้านมก่อนกลังให้นมบุตร หัวนมแตกต้องรีบแก้ไขอย่าปล่อยไว้ ดูแลให้มารดาให้นมทารกได้ถูกวิธี ให้นมบ่อยๆทุก 2-3 ชม.บีบนมที่เหลือค้างเต้าออก
การพยาบาล:ตรวจลักษณะการอักเสบ แผล สิ่งคัดหลั่งต่างๆ ถ้ามีหนองออกมากต้องระบายหนองออก งดให้นมข้างที่อักเสบ ให้ ATB และยาแก้ปวดตามแผนการรักษา ประคบร้อนก่อนให้บุตรดูดนม ใส่ยกทรงพยุงเต้านม
การอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน(Parametritis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงลอย หรือขึ้นๆลงๆ
เบื่ออาหารหรืออาเจียน บางครั้งมีอุจจาระเหลว
มีอาการหนาวสั่น ชีพจรเบาเร็ว
ซีด
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่แล้ว น้ำคาวปลาไม่มาก อาจคลำพบก้อนที่หน้าท้อง ทวารหนัก หรือในช่องคลอด อาจเจ็บที่หน้าท้องข้างเดียวหรือสองข้าง
อาจมี Endotoxic shock
Cross of death :อุณหภูมิต่ำกว่า 36 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็วกว่า 100 ครั้ง/นาที แสดงว่าpt.มีภาวะวิกฤต
การพยาบาล
ป้องกันการติดเชื้อ:แนะนำการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคล การทำคลอดถูกวิธี ถูกเทคนิค
เมื่อมีอาการ: จัดให้พักผ่อนเพียงพอ ไม่แพร่กระจายเชื้อแก่ผู้อื่น ทำแผลระบายหนองในรายที่แผลอักเสบ ดูแลแก้ไขอาการไม่สุขสบายดูแลตามอาการ
อาการรุนแรง: จัดสถานที่เหมาะสม ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอ เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพในรายที่อาจช็อค แก้ท้องอืดโดยใส่ NG tube ให้การพยาบาลดูแลตามอาการ
การพยาบาลมารดาที่มีจิตใจแปรปรวนหลังคลอด
อารมณ์หลังคลอด (Postpartum blue)มักเกิดช่วง 3-4 วันหลังคลอด
อาการและอาการแสดง: ร้องไห้ไม่มีเหตุผล นอนไม่หลับกระสับกระส่าย อาการจะหายเอง 2-3 สัปดาห์ หรือรุนแรงขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม
สาเหตุ
1.จากการคลอด มีการเปลี่ยนแปลงมากมายทั้งกาย จิตสังคม มารดาปรับตัวไม่ทัน
2.การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จากโปรเจสเตอโรนสูงในระยะตั้งครรภ์และลดลงรวดเร็วหลังคลอด ร่วมกับมี Estradiol cortisol และ Prolactin เพิ่มขึ้น
3.จากการเปลี่ยนแปลงร่างกายจากการคลอด การเสียเลือด ความเจ็บปวด การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
4.ความตึงเครียดด้านจิตใจ การเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงบทบาท ความตึงเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
การพยาบาล: สนับสนุนให้เกิดแรงสนับสนุน แก่มารดา เช่นสามี ญาติ
ครอบครัว
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
อาการและอาการแสดง: รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า อ่อนเพลียไม่มีแรง มีความคิดอยู่ในสภาพความเป็นจริง ท้อแท้ สิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย
แบ่งเป็น 3 ระยะ
1.เกิดหลังคลอด วันที่ 3-10 ซึมเศร้า ฝันร้าย เสียใจ สูญเสีย เกิดจากการตื่นเต้นจากการคลอด
2.เกิดช่วง 1-3 เดือน หลังคลอด มารดาพยายามรวมกับบุตรเข้าเป็นครอบครัว พยายามตอบสนองความต้องการลูก มีการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่มากขึ้น มารดาอ่อนเพลีย อดนอน หงุดหงิดมาก
3.อาจเกิดได้ในระยะเวลา 1 ปี หลังคลอด รู้สึกอยากทำหน้าที่แม่แต่อ่อนล้า เกิดอารมณ์แรปรวนไม่มั่นคง รู้สึกว่าตนไม่ได้รับรับการเอาใจใส่จากรอบข้าง ทำให้น้อยใจอย่างมาก
การพยาบาล: อธิบายให้สามีผู้ป่วยเข้าใจและสอนการดูแลบุตรแก่สามีผู้ป่วย คอนให้กำลังใจมารดาสม่ำเสมอ จัดให้มารดาเข้ากลุ่มทำกิจกรรมกับมารดารายอื่นๆ
โรคจิตหลังคลอด(Postpartum prychosis)
อาการพบได้เร็ว มีอาการรุนแรง รู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ไม่มีแรง หลงผิด เห็นภาพหลอน หวาดระแหวง ปฏิเสธการเลี้ยงดูบุตร
การรักษา
1.การรักษาทางกาย:การใช้ยา การช็อคไฟฟ่า
2.การรักษาทางจิตโดยใช้จิตบำบัด
3.การรักษาโดยกรแก้ไขสิ่งแวดล้อม ไดแก่ให้สามีเข้าใจถึงความผิดปกติทางจิตของภรรยา ให้ทราบแนวทางการรักษา แนะนำให้สามีหมั่นมาเยี่ยมห้กำลังใจ ความอบอุ่นแก่มารดา
การพยาบาล:.ให้มารดาได้รับความสุขและมีสุขอนามัยที่ดี สามีและญาติเข้าใจแผนการรักษา ให้มารดาได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม ส่งเสริมบทบาทมารดาและสัมพัมธภาพในครอบครัว
การบวมเลือดหรือก้อนเลือดคั่ง (Hematoma)
สาเหตุ:บาดเจ็บจากการคลอดเองหรือสูติหัตถการ การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ฝีเย็บฉีกขาด การบีบคลึงมดลูกรุนแรง ทำให้เลือดคั่งใต้เยื่อบุช่องท้อง และใน broad ligament
อาการและอาการแสดง: มีการบวมเลือดบริเวณช่องคลอด เจ็บปวดบริเวณฝีเย็บหรือทวารหนักมากหลังคลอด หากก้อนเลือดมีขนาดใหญ่อาจเกิดภาวะการตกเลือดได้
การพยาบาล
1.ป้องกันการบวมเลือดในรายที่เสี่ยง วางกระเป๋าน้ำแข็งที่ฝีเย็บชั่วโมงแรกหลังคลอด
2.ถ้าเกิดก้อนหรือเลือดบวม บริเวณที่เกิดจะเป็นก้อนแข็ง กดเจ็บ พย.ต้องประเมินขนาดของก้อนเลือด
3.ก้อนเลือดขนาดเล็ก ประคบเย็นลดอาการบวม ติดตามประเมินขนาดก้อนเลือด แต่ถ้ามีขนาดใหญ่ต้องทำการผ่าตัดเพื่อระบายเลือดและผูกหลอดเลือด หรืออาจใส่ท่อระบาย
4.ให้การดูแลตามอาการ เช่น บรรเทาอาการปวดด้วยยาลดปวด ประคบเย็น หากมีอาการช็อคต้องดูแลรักษาอาการและส่งผ่าตัดเพื่อหยุดเลือดโดยเร็ว
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
สาเหตุ: ภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี มีเศษรกค้าว มารดาไม่ให้ทารกดูดนม มีการติดเชื้อ เยื่อบุมดลูกอักเสบ มดลูกคว่ำหน้าหรือคว่ำหลังมากเกินไป ผ่าตดคลอด
อาการและอาการแสดง
1.น้ำคาวปลาออกมากกว่าปกติ มีสีแดงตลอด มีกลิ่นเหม็น
2.มดลูกนุ่มและใหญ่กว่าปกติ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง กดเจ็บหรือมีอาการปวดมดลูก
3.มีไข้
4.อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอด
การป้องกัน: การตรวจรก ว่าไม่มีรกค้าง ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก กระตุ้นให้ลุกจากเตียงโดยไว นอนคว่ำ หลีกเลี่ยงกระเพาะปัสสาวะเต็ม หลีกเลี่ยงการท้องผูก ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การรักษา: ถ้ามีเศษรกค้าง-ขูดมดลูก ถ้ากดเจ็บ มีไข้ น้ำคาวปลาเหม็นมีการอักเสบของเยื่อบุมดลูก ให้ ATB ถ้าไม่มีติดเชื้อร่วมด้วย อาจให้นากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
นางสาว พิมพ์ชนก ภานุมาศ เลขที่ 67(603101067) :