Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3-3.4การพยาบาผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย triage นาย…
3.3-3.4การพยาบาผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย triage
นาย พงศกร สมพร 6001211320 sec.B
3.3 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
ลักษณะและอาการแสดงได้รับบาดเจ็บทรวงอก
1.กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the ribs)
ผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณที่หัก และหายใจลำบาก
ตรวจร่างกาย อาจใช้มือวางบริเวณด้านหน้าและด้านหลังของทรวงอกแล้วบิดหมุนมือเข้าหากันเบาๆ
หากปวดแสดงว่ากระดูกซี่โครงหัก
แต่ต้องตระหนัก pt.ที่มี Fractured Ribs
ต้องประเมินเพื่อวินิจฉัยภาวะ internal injury และภาวะ Shock เสมอ เพราะอาจทำให้เสียชีวิต
2.ภาวะอกรวน Flail Chest
พบกระดูกซี่โครงหักอย่างน้อย 2 แห่ง
มีผลทำให้การหายใจมีปริมาณ CO2 ลดลง
การระบาย CO2 ลดลง
ประเมินได้จากอาการ Fractured Ribs
การหายใจลำบาก
จากการสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกขณะหายใจเข้าออก
แต่ต้องตระหนัก ผู้ป่วย flail chest มักเกิดร่วมกับ Pneumothorax
Penetrating Chest wounds ทรวงอกทะลุฉีกขาด
มักเกิดจากการถูกยิงหรือถูกแทง
เลือดออกในระหว่างผนังทรวงอกทำให้ปอดแฟบ
CO2 ลดลง การแลกเปลี่ยนก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
เกิดภาวะ Shock เสียชีวิต
3.1 Tensions Pneumothorax
เกิดจากลมรั่วจากปอดข้างที่ได้รับบาดเจ็บ
อาการข้างนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด
ลมนั้นไม่สามารถออกมาข้างนอกได้
เรียก one Airway
หากไม่ได้รับการรักษา ความในในโพรงเยื่อหุ้มปอดสูงขึ้น
ทำให้ปอดแฟบ เกิดmediastinum shift ไปฝั่งตรงข้าม
เกิด hypotension ได้
3.2 Massive Hemothorax เลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอดเฉียบพลัน
เลือดออมากกว่า 1,500 ml หรือมากกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณเลือดทั้งหมดของร่างกาย
หลังใส่ท่อระบาย ICD มีเลือด <200ml./hr. <24hr.
พบ Neck vein แฟบ
หรือNewk vein ไปกดเบียด mediasternum
3.3Cardiac temponade
เกิดจากเลือดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ
(Pericardial sec)
ปริมาเลือดเล็กน้อยมีผลการทำงานหัวใจที่จำกัด
Cardiac temponade จะค่อยเป็นค่อยไป
วินิจฉัยค่อนข้างยากกับภาวะ Temsion Pneumothorax แต่อาจพบ EKG แบบ PEA
ภาวะฉุกเฉินรุนแรงที่เกิดจากการบาดเจ็บทรวงอก
1.tissue hypoxia
เกิดภายหลังการบาดเจ็บทรวงอกเกิดการเสียเลือด
ภาวะhypoxia เป็นภาวะสำคัญ ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
ได้ทันที
เป้าหมาการรักษาที่สำคัญ ป้องกันและรักษาภาวะhypoxia ให้เร็วที่สุด
2.Hypercapnia
ส่วนใหญ่เกิดจากการ Ventilations ไม่เพียงพอ
เกิดสมองพร่องออกซิเจน ความรู้สึกตัวลดลง
Metabolic acidosis
การเพิ่มของ lactic acid
การพยาบาลเบื้องต้นผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินทรวงอก
A. Airway
ตรวจประเมินทางเดินหายใจส่วนบน จาก Laryngeal injury
ฟังเสียง stridor
B. Breathing
หากพบ cyanosis แสดงว่าผู้ป่วย hypoxia
หากไม่พบให้วัด SpO2
C. Circulation
นอกจากชีพจร จะตรวจความดันโลหิต อุณหภูมิปลายมือปลายเท้า
อาจพบ Neck vien แฟบในภาวะ Hypovolemia
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
1.ทำการสำรวจขั้นต้น
ทางเดินหายใจ, ดูการไหลเวียนเลือด, V/S
2.hypoxia เป็นอาการรุนแรงที่สุดของทรวงอก
ต้องมี early intervention ไว้ป้องกัน
Immediately lift-threatening injury
3.1 กรณีซี่โครงหักธรรมดา
ก่อนผูกปม ให้ผู้บาดเจ็บหายใจออกให้เต็มที่ก่อน
กรณีแผลเปิดมีลักษณะปากแผลถูกดูดขณะหายใจเข้า ให้สงสัย Hemothorax
กรณีซี่โครงหักเป็นจุดเดียวกันให้นอนตะแคงทับด้านที่บาดเจ็บ
กรณีไม่รู้สึตัวให้ผู้ป่วยนอน45องศา
3.2 กรณีพบ Flail Chest
ใช้หมอนรองบริเวณที่หัก
3.3 กรณีพบ Penetrating chest wounds
ให้รีบปิดแผลอย่างรวดเร็ว
ให้ปิดรู 3มุม อีก1มุมเปิดไว้
กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัวดีให้จัดท่าในท่านั่ง
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินในระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
กลุ่มอาการเจ็บอก
การวินิจฉัย
ควรนึกคำนึงถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
Pt.ที่คลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดง ST elevation ชัดเจน
ไม่ต้องรอผล cardiac enzyme ให้รีบให้การรักษารวดเร็ว
ในผู้ป่วยที่สงสัย ควรตรวจ troponin หรือ cardiac enzyme
ผลตรวจ troponin ได้ผลลบติดต่อกัน2ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง หรือ1ครั้งหลังจากเจ็บเกิน 9 ชม.
สามารถให้การรักษา และนัดติดตามผลแบบผู้ป่วยนอก
การรักษา
นอนในที่อากาศถ่ายเท ให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, V/S
ให้ Aspirin gr V 325 mg 1 tab เคี้ยวแล้วกลืน
ให้ Isosorbide dinitrate (isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น
SBP>90 mmHg ให้ซ้ำได้ทุก 5 นาที สูงสุด 3เม็ด
ถ้าผู้ป่วยเคยได้รับการรักษาอยู่แล้ว มีประวัติใช้ยา sildenafil ภายใน24ชม.ควรงดยาอมใต้ลิ้น
อาการไม่ดีขึ้นหลังอมยาใต้ลิ้น
พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg
เตรียมพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อน
นำส่งรพ.โดยด่วน
กลุ่มอาการเหนื่อย
อาการเหนื่อยหอบขณะออกกำลังกายที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1-2สัปดาห์
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบเฉียบพลัน
ผู้ป่วยออกกำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังนานเกิน 3 สัปดาห์
Ischemic cardiomyopathy pulmonary disease
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
BPต่ำ เกิดอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ เป็นลม ร่วมกับแน่นหน้าอก
การตายของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา ร่วมกับห้องล่างซ้ายส่วน inferior wall
สาเหตุจากการขาดน้ำ
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
อาจมาด้วยภาวะแทรกซ้อนที่ทำให้หมดสติ หรือหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน
จำเป็นต้องได้รับการกู้ชีพ ณ จุดเกิดเหตุ
อาการหมดสติชั่วคราว syncope อาจเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทบาทพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
ซักประวัติตามหลัก OPQRST
O: Onset ระยะเวลาที่เกิดเหตุ
อาการอย่างไร ขณะเกิดอาการpt.กำลังทำอะไร
P: Precipitate cause
สาเหตุชักนำและการทุเลา
อะไรทำให้ อาการดีขึ้น อะไรทำให้อาการแย่ลง
Q: Quality
ลักษณะอาการเจ็บอก
มีอาการอย่างไร แน่นเหมือนมีอะไรมาบีบ
รัดหรือเจ็บแปล๊บๆ
R: Refer pain
อาการเจ็บร้าว
ร้าวไปที่ไหนตำแหน่งใดบ้าง
S: severity
ความรุนแรง หรือpain score
T: time
เวลาที่เป็น
ปวดนานกี่นาที
ประสานงาน
ให้การดูแลแบบช่องทางด่วนพิเศษ ACS fast track
โดยใช้ Clinical pathway
ให้ออกซิเจน
เมื่อมีภาวะ hypoxemia SaO2<90% or PaO2<60mmHg
ทำให้เกิด vasospasm และ myocardia injury
ไม่ควรให้ routine oxygen ในpt. SaO2 > 90%
ให้ Nitroglycerin พ่นหรืออมใต้ลิ้น
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและแปลผล
แปลผลภายใน 10นาที พร้อมกับรายงานแพทย์
เฝ้าระวังการเกิดอาการ และอาการแสดง cardiac arrest
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ และEKG monitoring
สังเกตอาการเหงื่อแตก ตัวเย็น ซีดเขียว ปัสสาวะออกน้อย ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถ emergency และเครื่อง defibrillator ให้พร้อม
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
พยาบาลเตรียมพร้อมเพื่อเข้ารับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดอย่างเร่งด่วน
ถ้าทันเวลาทำ PCI ได้ภายในไม่เกิน90นาที
พยาบาลบาล ประสานงานจัดเครื่องมือให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแล
ปรับปรุงระบบส่งต่อให้รวดเร็วปลอดภัย
Pulmonary embolism (PE)
เป็นภาวะที่ลิ่มเลือดเข้าไปอุดตัน
มี 3 ปัจจัย
การไหลเวียนของเลือดลดลง
มีความผิดปกติของเลือด
มีผนังหลอดเลือดดำผิดปกติ จาก local trauma
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัด ช่วง12สัปดาห์ที่ผ่านมา
มะเร็ง
เคยเป็น DVT หรือPE มาก่อน
Immobilization นานเกิน3วัน ใน4สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์ หรือใช้ estrogen
กระดูกขาหัก12สัปดาห์ที่ผ่านมา
ลักษณะอาการ
อาการเข้ากับ DVT
อัตราการเต้นหัวใจ >100ครั้งต่อนาที
ประวัติไม่ได้เคลื่อนไหว หรือผ่าตัด4สัปดาห์ที่ผ่านมา
เคยเป็น PE หรือ DVT
ไอเป็นเลือด
ตรวจวินิจฉัย
Chest X-ray
เห็น infiltration ที่บริเวณปอด
12 leads-ECG
มีลักษณะ deep s-wave ใน lead l และ Q-wave และT-inversion ใน lead lll
คลื่นหัวใจมีลักษณะ right ventricular dysfunctions
ABG มีระดับออกซิเจนต่ำ
Troponin-l สูงกว่าปกติ
การรักษา
Anticoagulantion
ให้ heparin ในช่วงแรก และให้ coumadinในเวลาต่อมา
Thrombolytic therapy
มักใช้ในกรณี massive pulmonary emboli
Caval filter
ใช้ในผู้ป่วยที่มี recurrent PE ทั้งที่ได้ยา anticoagulant อย่างเพียงพอ