Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๗ การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล, นางสาวธันยพร เครืออ้อย เลขที่ 36…
บทที่ ๗ การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
การวิเคราะห์ก้างปลา(Fish bone)
เป็นแผนผังที่ใช้แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตุหลายๆ สาเหตุที่เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาหนึ่งปัญหา
4M1E
M Man คนงาน หรือพนักงาน หรือบุคลากร
M Machine เครื่องจักรหรืออุปกรณ์อํานวยความสะดวก
M Material วัตถุดิบหรืออะไหล่ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
M Method กระบวนการทํางาน
E Environment อากาศ สถานที่ ความสว่าง และบรรยากาศการทํางาน
ประโยชน์
ใช้ศึกษา ทําความเข้าใจ หรือทําความรู้จักกับกระบวนการอื่น ๆ
ใช้เป็นแนวทางในการระดมสมอง
ช่วยให้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างมีเหตุผล เจาะลึกถึงสาเหตุรากเหง่า (root cause)
แนวคิดและหลักการบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran)
การควบคุมคุณภาพ (Quality control) มีการประเมินสภาพปัจจุบัน การดําเนินงานขององค์การ เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ต้องการและปรับปรุงวิธีการดําเนินงาน
การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement) การปรับปรุงกระบวนการให้มีประสิทธิภาพด้านคุณภาพสูงกว่าแต่ก่อน
การกําหนดเป้าหมายคุณภาพ การคํานึงถึงลูกค้าภายนอกและภายในองค์การ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ตอบสอนงความต้องการของลูกค้า
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน (Continuous quality improvement ,CQI)
เป็นแนวคิดเชิงกระบวนการพัฒนาระบบงานอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด เป็นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ ในการปรับปรุงระบบงานเพื่อตอบส นองความต้องการของผู้รับผลงานอย่างไม่หยุดยั้ง โดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)
มีกระบวนการคือการวางแผน(Plan) การปฏิบัติ(Do) การตรวจสอบ(Check) และการปฏิบัติจริง(Act) หรือที่เรียกย่อว่า PDCA หรือ วงจรเดมมิ่ง(PDCA Deming cycle) มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
มีแนวคิดตามความเชื่อของเขา มีความสามารถในการจัดทําโปรแกรมปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มผลกําไร ซึ่ง มีพื้นฐานมาจากหลักการจัดการคุณภาพที่สมบูรณ์ ๕ ประการ
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(Nursing Quality assurance) และมาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล หมายถึง การกระทําเพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาล สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพได้อย่างสมํ่าเสมอ อย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง มีเครื่องมือในการประเมินอย่างถูกต้อง เชื่อถือได้และสามารถนํามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพต่อไปได้
มาตรฐานทางการพยาบาล หมายถึง ข้อความที่อธิบายลักษณะที่แสดงผลการปฏิบัติการพยาบาลที่ดีเป็นข้อความที่สามารถวัดได้และใช้เป็นแนวทางในการประเมินผลการพยาบาลทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
การบริหารความเสี่ยง(RM)
การบริหารจัดการที่วางแผนสําหรับมองไปข้างหน้าและมีกิจกรรมเพื่อป้องกันความล้มเหลวที่เกิดขึ้น
ระบบบริหารสุขภาพ(HA,HNQA,ISO
(Hospital Network Quality Audit: HNQA)
เป็นรูปแบบกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพเป็นเครือข่าย มุ่งให้เกิดประโยชน์ต่อลูกค้าโดยตรง ทุกคนที่มีส่วนร่วมมีความสุข ประหยัดและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ISO
มาตรฐานที่ว่าด้วยระบบบริหารคุณภาพ และระบบบริหารสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมาตรฐานสากลที่สําคัญต่อการค่าเป็นมาตรฐานสากลด้านระบบบริหาร ได้แก่ ระบบคุณภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้อมหรือที่รู้จักกัน
Hospital Accreditation
กลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพระบบงานทั้งโรงพยาบาลอย่างมีทิศทาง ร่วมกับการเรียนรู้แลกเปลี่ยนกับที่ปรึกษาและการรับรองโดยองค์กรภายนอก
นางสาวธันยพร เครืออ้อย เลขที่ 36 (603101036)