Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินระในระบบหัวใจและหลอดเลือดและ 3.5…
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินระในระบบหัวใจและหลอดเลือดและ 3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้ม Hypovolemic shock ให้ Ringer Lactate
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ผู้ป่่วยหายใจเองได้ ควรได้รับออกซิเจน 8-9 Lpm
ผู้ป่วยหายใจเองไม่ได้
รายงานแพทย์เพื่อใส่ท่อช่วยหายใจ
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้ทางเดินหายใจอุดกั้น
ส่งผู้ป่วยไปเอ็กซ์เรย์ตามแผนการักษา
บรรเทาความเจ็บปวด
ไม่ใช้ยาในการรักษา
ใช้ยาในการรักษา
เฝ้าระวัง ประเมินความรุนแรง
ระบบความรู้สึก
ผิวหนังและเมือก
การสูบฉีดเลือดและไต
โรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด
Acute Myocardial Infarction
Pulmonary embolism
Cardiac temponade
บทบาทพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและแปลผล
เฝ้าระวังและสังเกตอาการและอาการแสดงของ Cardiac Arrest
ให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่มี SpO2 < 90%
เตรียมความพร้อมของระบบการสนับสนุนการดูแลรักษา
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
ประสานงาน ดูแลแบบช่องทางพิเศษแบบ ACS fast track
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
การประเมินผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินสภาพผู้ป่วยตามหลัก OPQRST
Q :Quality ลักษณะของอาการเจ็บอก
S : Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บหน้าอก
P : Precipitate สาเหตุชักนำและการทุเลา
T : Time ระยะเวลาที่เป็น
O : Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
R : Refer pain ตำแหน่งที่เจ็บ
โรคของระบบทางเดินอาหาร
Blunt abdominal injury
Gun shot wound
Stab wound
การพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ Aspirin 1 เม็ด เคี้ยงและกลืนตามแผนการรักษาแพทย์
ให้ออกซิเจน
หากอาการแน่นหน้าออกไม่ดีขึ้น ให้อมยาใต้ลิ้น
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเท
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วย
การประเมินผู้ป่วยระบบทางเดินอาหาร
Breathing and ventilation
ดูภาวะ Apnea
ดูภาวะ Upper airway obstruction
Circulation with hemorrhagic control
ประเมินชีพจรและการเสียเลือด
Skin color
Capillary filling time ภายใน 3 วินาที
Level of concious
Pulse เบาเร็วไหม
ควบคุม Extra Hemorrhage โดยกดบริเวณที่มีเลือดออก
Airway maintenance with cervical spine control
ประเมินภาวะของ Airway obstruction
อาจมีการบาดเจ็บของ C-spine
อาการของระบบทางเดินอาหาร
ท้องอืดตึง
ไม่ได้ยินการเคลื่อนไหวของลำไส้
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
การตกเลือดในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อก
ปวดเนื่องจากผนังหน้าท้องฉีกขาด
อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
Pulmonary embolism
ใจสั่น แน่นหน้าอก (Pleuritic pain)
หน้ามืด เป็นลม หมดสติ
หายใจหอบเหนื่อยกระทันหัน
Acute Myocardial Infarction
เจ็บขณะพัก (Rest angina) มากกว่า 20 นาที
เจ็บเค้นหน้าอกที่เกิดขึ้นใหม่แรงกว่าเดิม
เจ็บเค้นหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน
Cardiac temponade
ใจสั่น
เหงื่อออกขณะออกแรง
เจ็บเค้นหน้าอก
เป็นลม
นางสาวชุติมณฑน์ ชื่นจิตร 6001210606 เลขที่ 28 Sec A