Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด, นางสาววราภรณ์ หมื่นไธสง รหัส…
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบตัน (Peripheral arterial occlusive disease : PAD )
การอุดตันหลอดเลือดแดง ทำให้การไหลเวียนเลือดไปยังขาลดลง ส่งผลให้แผลที่ขาและเท้าหายช้า
อาการแสดง
6 P
ชา (Paresthesia)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Paresis)
คลำชีพไม่ได้ (Puseless)
ผิวหนเย็น (Poikilothermia)
ซีด (palor)
อาการปวด (Pain)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาการอุดตันของหลอดเลือด
การตรวจ Doppler ultrasounds /duplex scand
การซักประวัติ
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงปริมาตร หรือการไหลเวียนทำให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด
มีระดับสารโฮโมซีสเตอีนในเลือดสูงทำให้เกิการตีบตันของหลอดเลือด ทำให้เซลล์กล้ามเนื้อตาย
การเปลี่ยนแปลงหรือการทำลายผนังหลอดเลือด
การอักเสบ ติดเชื้อ อุบัติเหตุ กระแทก หรือมีการยืดขยายหลอดเลือด ทำให้มีการทำลายผนังหลอดเลือด
หลอดเลือดแตงตีบแข็ง เกิดเป็นพังผืด ทำให้รูหลอดเลือดตีบเล็กลง เลือดไหลผ่านได้น้อย
การพยาบาล
ส่งเสให้ใช้ท่าทางในชีวิตประจำวันที่ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง
หลีกเความเครียด ทำใจให้สดชื่น
รักษาร่างกายให้อบอุ่น หลีกเลี่ยงอากาศเย็น
หลีกเเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
รับประทานอาหารที่เหมาะสม ลดไขมัน
แนะนำให้ออกกำลังกาย แนะนำให้ดูแลเท้าด้วยตัวเองอย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้ใช้ยาอย่างถูกต้อง
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
คือ ภาวะสมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อสมองถูกทำลาย สมองหยุดทำงาน
ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยที่ควบคุมได้
เพศ พบว่า ญ > ช
อายุ
ภาวะการแข็งตัวของเลือดที่เร็วกว่าปกติ
ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
ความดันโลหิค
เบาหวาน
การสูบบุ
ไขมันในเลือดสูง
อาการของโรค
พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลาย/หล กลืนลำบาก
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด
ชา หรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและแขนขา ครึ่งซีกของร่างกาย
ตามัวมองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก
เดินเซ ทรงตัวลำบาก
ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง
2.หลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด (Hemorrhagic stroke) ทำให้หลอดเลือดมีความเปราะบางและโป่งพอง และสาเหตุอื่นๆ เช่น โรคหลอดเลือด โรคตับ การรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด การได้รับสารพิษ การใช้สารเสพติดมีอาการชั่วคราว มักเกิดขึ้นไม่เกิน 24 ชม. ประมาณ 15%
3.Transient ischemic attack (TIA) ภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว ผู้ป่วยจะมีภาวะโรคหลอดเลือดสมองตามมาจึงถือว่าเป็นภาวะเร่งด่วน เพราะมีโอกาสเสี่ยงเป็นอัมพาตได้
1.หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (schemic stroke) มีสาเหตุมาจากการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดจากการสะสมของคราบไขมัน หินปูน ที่ผนังหลอดเลือดจนหนานูน ขาดความยืดหยุ่น ทำให้หลอดเลือดค่อยๆตีบแคบลง ส่งผลให้ประสิทธิภาพการลำเลียงเลือดลดลง
การรักษา
การักษาทางยา
ยาต้านการแข็งตัวของเลือดป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
การใช้ยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic
การักทางการผ่าตัด
ใส่สายสวนเพื่อขยายหลอดเลือด และใส่ขดลวด
ใส่สายสวนไปยังบริเวณที่มีลิ่มเลือด เพื่อคล้องเอาลิ้มเลือดออกมา
Carotid endarterectomy ผ่าตัดเปิดดหลอดเลือดแดงและเอาผ่าเอาคราบออก ทำการซ่อมแซมหลอดเลือด
ใส่สายสวนบริเวณที่มีลิ่มเลือด ให้ยาละลายลิ่มเลือด
โรคหลอดเลือดดำอักเสบ (Thrombophlebitis)
สาเหตุ
เกิดการคลั่งของเลือด
การแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกคิ
การบาดเจ็บของหลอดเลือด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบอาการแสดง เช่น มีไข้ มีหลอดเลือดดำขอดบริเวณขา เคยผ่าตัดเกี่ยวกับขาและอุ้งเชิงกราน มีการติดเชื้อที่มดลูก มีผิวหนังร้อน กล้ามเนื้อน่องเกร็งปวดตื้อหรือที่ขา
การตรวจพิเศษ ทางห้องปฏิบัติการ
ติดตามการแข็งตัวของเลือด
การอัลตราซาวด์
การเอกซเรย์ดูเส้นเลือด
การซักประวัติ
ประวัติการอักเสบของหลอดเลือด เลือดดำมาก่อน เคยผ่าตัดอุ้งเชิงกราน สูบบุหรี่ มีโรคประจำตัว
คือ การอักเสบของเยื่อบุหลอดเลือด พร้อมกับการเกิดลิ่มเลือดอุดตันของหลอดเลือด
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดดำอักเสบ สาเหตุบางส่วนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการตั้งครรภ์. การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดอุ้งเชิงกรานที่ขยาย ระหว่างตั้งครรภ์ แต่ในระยะหลังคลอดเลือดไหลผ่านลดลงทันที จึงส่งผลทำให้เกิดการคลั่งของเลือด
อาการแสดง
แบ่งตามอวัยวะที่เกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
1.การอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณขา (Femoral thrombophlebitis) มักเกิดประมาณ 10 วันหลังคลอด มักพบอาการ มีไข้ หนาวสั่น ไม่สุขสบาย ปวดเมื่อยร่างกาย มักจะมีอาการปวดบวมที่ขาเนื่องจากลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำที่ขาส่งผลให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกขาข้างที่เป็นจะมีอาการปวด แดง ร้อน และบวมบริเวณผิวหนัง
2.การอักเสบของหลอดเลือดดำที่ขา (Pelvic thrombophlebitis) มักเกิดขึ้น 2 สัปดาห์หลังคลอดเป็นภาวะที่รุนแรงในระยะหลังคลอด โดยเฉพาะเมื่อมีการติดเชื้อ มักมีไข้สูง หนาวสั่นปวดบริเวณหน้าท้องส่วนล่าง หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว ปวดเมื่อยตามร่างกาย
แบ่งตามชนิดของหลอดเลือดดำที่มีการอักเสบ
1.การอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณส่วนผิว (Superficial venous thrombosis) มีอาการปวดน่องเล็กน้อย บวม แดง ร้อน หลอดเลือดดำที่ขาจะแข็ง
2.การอักเสบของหลอดเลือดดำส่วนลึก (Deep venous thrombosis) มีไข้ต่ำๆ ผิวหนังร้อน แต่มองไม่เห็นหรือคลำไม่ได้กดหลอดเลือดดำส่วนลึกดันปลายเท้าเข้าหาลำตัวให้น่องตึงจะรู้สึกปวดมาก ปวดตื้อๆที่น่อง มีอาการบวมที่ขาเนื่องจากหลอดเลือดอุดตัน
การรักษา
2.ให้ยาปฏิชีวนะ
3.การผ่าตัด ในรายที่มีอาการรุนแรง
1.ให้ยาต้านการจับตัวลิ่มเลือด
4.ให้ยาบรรเทาปวด ในรายที่มีอาการปวดมาก
Deep Vein Thrombosis
สาเหตุ
รับประทานยาคุมกำเนิด
สูบบุหรี่
น้ำหตัวขึ้นหรือโรคอ้วน
การตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
ลิ่มเลไปอุดตันที่หลอดเลือดดำของปอด
หลอดเลือดดำบกพร่องเรื้อรัง
การตรวจวินิจฉัย
การฉีดสารทึบรังสี
การเอกซเรย์
การตรวจคลื่นความถี่สูง
การพยาบาล
กระตุ้รให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกาย
ประคบอุ่น เพื่อขยายหลอดเลือด
แนะนำให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่
แนะนำให้ผู้ป่วยยกขาสูงเล็กน้อย เพื่อลดอาการปวด
แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการบีบนวดบริเวณขา
อาการแสดง
ปวดขา
ชาบริเวณขา
ผิวหแดง คล้ำ
กดเจ็บ
ขาบวม
ไม่สามาคลำชีพจรได้
Varicose vein
อาการ
ปวดเท้า ปวดหนักๆ ตึงๆ
เห็นเส้นเลือดดำพอง
บวมหลังเท้า ผิวบาง แห้ง คัน และค่อนข้างแข็ง
การพยาบาล
ยกขาสูง 10-15 นาที วันละ 3-4 ครั้ง
หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งนาน
ใช้ elastic bandage พันข้อเท้าถึงเข่า
ห้ามนั่งไขว่ห้าง
บริหารข้อเท้า เหยียดและกระตุกสลับกัน
Hypertension
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจ LAB เพื่อหาปัจจัยเสี่ยง
ดูจากการวัดค่าความดันโลหิต
ตรวจร่างกาย
อาการ
ปวดมึท้ายทอย ตึงที่คอ เวียนศีรษะ ตามัว มือเท้าชา
อาจมีเลกำเดาไหล
อ่อนเพ เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ
ส่วนใหไม่แสดงอาการ พบเมื่อตรวจคัดกรอง
การรักษา
ไม่ดื่มเครื่อแอลกอฮอล์
ออกกำสม่ำเสมอ
รับปรผักและผลไม้ที่มีเส้นใยสูง
การใช้ยาลดความดันโลหิต
หลีกเอาหารที่มีโซเดียมสูง
การป้องกัน
ปรับพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตรวจสุประจำปี
ออกกำลังกายสม่
ไม่สูบบุ
นางสาววราภรณ์ หมื่นไธสง รหัส 612501071