Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัยTriage 3.6…
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัยTriage
3.6-3.7
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Pelvicfracture และ Open fracture ต้องระวังเรื่องการเสียเลือดจน อาจทำให้เกิดHypovolemic shock
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม ปวดมาก ต้องพึงระวังภาวะCompartment syndrome
กระดูกหักMultiplelong bone fracture มีโอกาสเกิดภาวะPulmonary embolism และเสียชีวิตได้
Primary survey และ Resuscitation
เกิดภาวะHypovolemic หรือHemorrhage shock ได้
การControl bleeding ดีที่สุดคือDirect
pressure ด้วยSterile pressure dressing
fractureหรือให้ทำการsplint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด
การทำPrimary survey และ Resuscitation พยาบาลควรทำการ Immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
Secondary survey
1.การซักประวัติ จากผู้ป่วย ผู้นำส่ง ผู้ประสบเหตุ
1.1 สาเหตุการเกิดเช่น รถยนต์ชน รถจักรยานยนต์แฉลบ ถูกยิง ถูกแทง
1.2 ระยะเวลา
นานกว่า8ชั่วโมง บาดแผลจะกลายเป็นInfected wound
1.3 สถานที่ เช่นอุบัติเหตุในน้ำสกปรก คูน้ำ
1.4 การรักษาเบื้องต้นเช่น การใส่Splint การใส่traction
2.การตรวจร่างกาย
ปวดและกดเจ็บ บวมผิดรูป คลำพบเสียงกระดูกขัดสีกัน
การตรวจผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมี3ขึ้นตอน
2.1 การตรวจและรักษาLife threatening และ Resuscitation
2.2 การตรวจคร่าวๆเพื่อScreening test
กระดูกแขนขาโดยให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสองข้าง
กระดูกสันหลังกระดูกสันหลังส่วนคอให้ผู้ป่วยยกคอ
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครงโดยให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณSternum แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
2.3 การตรวจอย่างละเอียดSecondary survey
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน(Crepitus)
3.การเอกซเรย์
3.1 ถ่ายเอกซเรย์2 ท่าในแนวตั้งฉากกันAnteriorคือ-posterior
3.2 ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
1.Recognition เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน
2.Reduction เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด
3.Retention เป็นการประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่
4.Immobilization
เพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่มเติมต่อsofttissue
5.Rehabilitation เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ
6.Reconstruction เป็นการแก้ไขซ่อมแซม
7.Refer เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
1.Major Pelvic disruption with Hemorrhage
คำนึงถึงภาวะunstable pelvic fracture
การตรวจร่างกาย
ดูจะพบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic
คลำ พบกระดูกPelvic แตก PR examination พบ high-riding prostate gland และ มีเลือดออกบริเวณUrethral meatus
จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding โดยการทำ Stabilization pelvic ring จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
2.Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด อาจเป็นการบาดเจ็บแบบ
Blunt trauma หรือPenetrating wound ทำให้มีการเสียเลือดจำนวนมากและเกิดHypovolemic shock
คลำได้thrillฟังได้bruit และ 6Ps
Doppler ultrasound ตรวจหาความผิดปกติของหลอดเลือด
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด และ Fluid resuscitation ในรายที่กระดูกผิดรูปให้ทำการจัดกระดูกให้เข้าที่แล้วทำการSplint
3.Crush Syndrome
อาการที่พบ
Dark urine, พบ Hemoglobin ได้ผลบวก เมื่อเกิดภาวะ
Rhabdomyolysis
Hypovolemia, Metabolic acidosis, Hyperkalemia, Hypocalcemia และ DIC ได้
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้Osmotic diuretic เพื่อ รักษาระดับTubular volume และ Urine flow
แพทย์จะพิจารณาให้Sodium bicarbonate เพื่อช่วย ลด Myoglobin ที่ไปทำลายTubular system
Urine output ให้ได้100 cc./ชั่วโมง จนกว่าปัสสาวะจะใส(clear myoglobinuria)
3.7 การปฐมพยาบาลคนจมน้ำ Drowning
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นภายหลังการจมน้ำ2ลักษณะตามชนิดของน้ำ
น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่า เลือด(พลาสมา)
ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดจำนวนมากก็จะถูกดูดซึมเข้า
กระแสเลือดทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิมมี hypervolemia
ทำให้ระดับเกลือแร่ (เช่น โซเดียม โพแทสเซียม) ในเลือดลดลงซึ่งอาจทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวาย
น้ำทะเลจะมีความเข้มข้นมากกว่าเลือด
ดูดซึมน้ำเลือดจากกระแสเลือดเข้าไปในปอด(พลาสมา) ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ pulmonary edema
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลงhypovolemic
ระดับเกลือแร่ใน เลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติหัวใจวายหรือเกิดภาวะช็อก
อาการ
หมดสติ และหยุดหายใจบางคนหัวใจอาจหยุดเต้น (คลำชีพจรไม่ได้)
ไม่หมดสติ ก็อาจมีอาการปวดศีษะ เจ็บหน้าอก อาเจียนกระวนกระวาย หรือไอมีฟองเลือด
ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติหัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือด ต่ำ หรือภาวะช็อก
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพ
1.สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
1.1 อายุ
1.2 การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
1.3 Diving reflexes
1.4 สุขภาพผู้จมน้ำ
1.5 การรับประทานอาหารที่อิ่มใหม่ๆ
1.6 การมึนเมาจากสุรา
1.7 ความรู้ในการว่ายน้ำ
2.อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำการสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทําให้อุณหภูมิของร่างกายลดลง
3.ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
4.การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
ระบบทางเดิหายใจและปอด มีภาวะ Pulmonary congestion หรือ edema
1.1 ผู้ป่วยมีการสูดสำลักสารน้ำเข้าไป
Hypotonic solution ได้แก่การจมน้ำจืด
Hypertonic solution ได้แก่การจมน้ำทะเล
1.1.1 Tonicity ของสารน้ำ
1.1.2 Toxicity
1.1.3 Particles และ micro-organism
1.2 ผู้ป่วยที่ไม่มีการสำลักน้ำ
พบภาวะสมองขาดออกซิเจน
และเกิด neurogenic pulmonary edema ตามมา
2.การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท การจมน้ำทำให้เกิดcerebral hypoxia เกิดภาวะสมองบวม
3.การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
4.1 acidosis จาก เยื่อบุถุงลมอักเสบ, ถุงลมขาดsurfactant ,atelectasis, pulmonary edema
PO2 metabolic acidosis
PCO2 respiratory acidosis
4.2 น้ำจืดเกิดhyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia น้ำเค็มเกิดhypernatremia, hyperchloremia, hypermagnesemia
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
การปฐมพยาบาล
1.กรณีที่คนจม้ำรู้สึกตัวดีลักน้ำไม่มากส
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะน้าให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
2.ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทำการเป่าปาก
3.ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้นให้ทำการนวดหัวใจทันที
4.ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง หรือช่วยเหลือจนหายใควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้างได้แล้ว และศีรษะ หงายไปข้างหลังเพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก
5.ควรส่งผู้ป่วยที่จมน้ำไม่ว่าจะมีอาการหนักเบาเพียงใดไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกรายในรายที่ หมดสติและหยุดหายใจ ควรผายปอด