Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือดและระบบทางเดินอาหาร - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือดและระบบทางเดินอาหาร
Acute MI
ชนิด
ST elevation acute coronary syndrome
่พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกัน
เกิด LBBB ขึ้นมาใหม่ ซึ่งเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
Non ST elevation acute coronary syndrome
ชนิดที่ ไม่พบ ST segment elevation
พบลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
ความหมาย
โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดง ทเี่ลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน
ส่วนใหญเ่กิดจากไขมันและเนื้อเยื่อสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด
ผลให้เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในตำแหน่งนั้นหนาตัวขึ้น
อาการนำที่สำคัญของโรคหัวใจขาดเลือด
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
ผู้ป่วยที่มีอาการเหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า3สัปดาห์ขึ้นไป
ควรวินิจฉัยแยกจากโรคปอดเรื้อรัง
อาการเหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์
สาเหตุอื่นๆ เช่น ไตวายเรื้อรัง, ซีดเรื้อรัง
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
กลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด หายใจเข้าไม่เต็มปอดอาจมีอาการเจ็บเค้นอกร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้
บางรายพบร่วมกับอาการทเี่กิดจากความดันโลหิตต่ำลงเนื่องจากภาวะหัวใจขาดเลือด
มาด้วยอาการเหนื่อยซึ่งเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน หายใจหอบ
กลุ่มอาการที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
มีภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นๆ หายๆ มาเป็นเวลานาน
มีทั้งอาการที่เกิดจากหัวใจล้มเหลวทั้งซีกซ้ายขวา เช่น นอนราบไม่ได้ต้องตื่นขึ้นมากลางดึก มีตับโต ขาบวม
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยแยกโรคในผู้ป่วยที่มีอาการต่างไปจากลักษณะเฉพาะของอาการเจ็บเค้นอก
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (acute coronary syndrome) ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกรุนแรงติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่า 20 นาที
ซักประวัติผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ โดยยืนยันการวินิจฉัยจากคลื่นไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วยขณะมีอาการเทียบกับขณะที่ไม่มี
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ เพื่อช่วยในการวินิจฉัยและประเมินความ รุนแรงของโรค
การตรวจพเิศษทางระบบหัวใจที่มีความแม่นยำ
การรักษา
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกและให้ออกซเิจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้ Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืนถ้าไม่มีประวัติแพ้ยา Aspirin
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น
ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้นหลังได้ยาอมใต้ลิ้น พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg เจือจางทางหลอดเลือดดำ
เตรียมพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ลักษณะอาการ
เจ็บแน่นหรืออึดอัดบรเิวณหน้าอกหรือปวดเมื่อยหัวไหล่หรือปวดกรามหรือจุกบริเวณลิ้นปี่
เจ็บหนักๆ เหมือนมีอะไรมาทับหรือรัดบรเิวณกลางหน้าอกใต้กระดูก sternum อาจมีร้าวไปบริเวณคอ กราม ไหล่ และแขนทั้ง 2 ข้าง
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
เกิดอาการ หน้ามืด เวียนศีรษะเป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
ทำใหประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจลดลงอย่่างรวดเร็ว
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
การวินิจฉัย
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead หลงัจากการกู้ชีพสำเร็จ
ควรพิจารณาส่งผู้ป่วย เพื่อตรวจสอบค้นเพิ่มเติม
ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจ
4.วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคจากการซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียดรวมทั้งการตรวจเพิ่มเติมพิเศษ
การรักษา
ควรพิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว (temporary pacemaker) ในผู้ป่วยทมี่ีทางเดินไฟฟ้าหัวใจติดขัดระดับ 3
ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อกดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
ต้องทำการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
ควรพิจารณาให้การรักษาภาวะหัวใจขาดเลือดดังที่กล่าวมาแล้ว
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก (cardiac massage)
บทบาทของพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่ พยาบาลต้องเตรียม ผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยเร่งด่วน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล พยาบาลต้อง ตัดสินใจตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจทันที
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
ให้ออกซิเจน เมื่อมีภาวะ hypoxemia
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ประสานงาน ตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือด เฉียบพลัน
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
Pulmonary embolism (PE)
อาการแสดงทางคลินิก
หายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็ว และมีหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ฟังปอดมักปกติหรืออาจฟังได้เสียงวี๊ดในหลอดลม บางครั้งอาจได้ยินเสียงการเสียดสีของเยื่อหุ้มปอด
บางราย มีอาการหน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ
พบว่าประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยไม่มีอาการ หรือมีอาการไม่มาก
หายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG)
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiography)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray)
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas, ABG)
การซักประวัติตรวจร่างกาย
ค่า biomarkers ต่างๆ ที่พบว่าสูงกว่าปกติ
Troponin-I หรอื T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide อาจสูงกว่าปกติได้
ปัจจัยเสี่ยง
มีโรคมะเร็ง
เคยเป็น deep vein thrombosis (DVT) หรือ PE มากอ่น
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สปัดาห์หรือการใช้ estrogen
ประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านนมา
การรักษา
Thrombolytic therapy
Caval filter
Anticoagulation
พยาธิสภาพ
มีโอกาสสูงที่จะหลุดเข้าสู่หลอดเลือดดำ inferior หรือ superior vena cava ก่อนผ่านเข้าหัวใจห้องขวาและหลุดมาอุดกั้นที่หลอดเลือดในปอด
ทำให้ เลือดดำไม่สามารถไปแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน เกิดภาวะออกซิเจนพร่อง
เกิดจากการที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นในหลอดเลือดดำและหลุดไปอุดที่หลอดเลือดที่ปอด
การบาดเจ็บช่องท้องสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Blunt injury
เกิดจากอบุัติเหตุรถชน หรือตกจากที่สูง มักเกิดการบาดเจ็บหลายแห่งร่วมกัน
อวัยวะที่พบได้บ่อยได้แก่ การบาดเจบ็ของตบั ม้าม
การบาดเจ็บทเี่กิดจากแรงกระแทก พบร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่บาดเจ็บช่องท้อง
Penetrating trauma
แบ่งออกเป็น Gun short wound และ Stab wound
ลำไส้เล็กได้รับบาดเจ็บมากที่สุด รองลงมาคือตับและลำไส้ใหญ่
การบาดเจ็บทเี่กิดจากของมีคมทะลุเป็นแผลนั้น พบร้อยละ 30
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บช่องท้อง
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
ป้องกันภาวะช็อกอย่างเร่งด่วน การดูแลสารน้ำทดแทน ใส่สายสวนปัสสาวะตามแผนการรักษา ประเมินภาวะเลือดออก
กำจัดสาเหตุที่ทำใหเ้กิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
6.บรรเทาความเจ็บปวดโดยวิธีการใช้ยาตามแผนการรกัษาและวิธีการไม่ใช้ยา
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผู้เจ็บ Blunt abdominal trauma ที่อาจเกิดภาวะช็อกได้
7.ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
1.ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
ประเมินความรุนแรงเบื้องต้นเป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดในการรักษาโดยต้องมีการประเมินทางคลินิกอย่างรวดเร็วและให้การรักษาพยาบาลไปพร้อมๆ กัน
ลักษณะและอาการแสดงของการได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
อาการท้องอืด
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อก ที่ไม่เห็นรอ่งรอยของการเสียเลือด
อาการปวด