Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด - Coggle…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์สตรี ในระยะ 6 สัปดาห์แรกหลังคลอด หรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
อาการ
มีไข้ อุณหภูมิ > 38 องศาเซลเซียส ติดต่อกัน 2 วัน ในช่วง 10 วันแรก ไม่นับ 24 ชม. แรกคลอด
การอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน (Parametritis)
อาการ
ไข้สูงลอย 38.9-39.4 องศาเซลเซียส
เบื่ออาหาร อาเจียน อุจจาระเหลว ซีด หนาวสั่น ชีพจรเบาเร็ว
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่แล้ว น้ำคาวปลาไม่มาก คลำได้ก้อน
cross of death
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้พักผ่อน ระวังการแพร่เชื้อ
ทำแผลระบายหนอง อาจให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
รักษาความสะอาด สุขวิทยาส่วนบุคคล
ดูแลความสุขสบาย ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลดี มดลูกเข้าอู่ปกติ จัดท่านอน Fowler's position
จัดอาหารเหมาะสม มีคุณค่าทางอาหารให้รับประทาน
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
สาเหตุ
หัวนมแตก ถลอก หรือมีรอยแตก
คัดนมมาก ทำให้บีบนวดนมบ่อย
คัดนมมาก ท่อน้ำนมอุดตัน นมไหลออกมาไม่ได้
ทารกมีเชื้อในจมูก และคอ เมื่อทารกดูดหัวนมที่แตก เชื้อจะเข้าสู่ท่อน้ำนม
อาการ
ไข้สูง 38.5-40 องศาเซลเซียส
ชีพจรเร็ว หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
ปวดเต้านม รู้สึกหนัก เต้านมแดง ตึง แข็ง เจ็บปวด ผิวหนังนุ่ม เป็นมัน อาจมีหนองไหล
ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้โต เจ็บ
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำมารดารักษาความสะอาดของเต้านม เสื้อผ้า ทำความสะอาดเต้านมและหัวนม ล้างมือก่อนให้นมทารก
แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ 3 ลิตรต่อวัน
แนะนำงดให้ทารกดูดนมข้างที่อักเสบ
ประคบร้อนก่อนให้บุตรดูดนมเพื่อช่วยให้การไหลเวียนดี หลังดูดนมประคบเย็นเพื่อลดอาการปวดบวม
การบวมเลือดหรือก้อนเลือดคั่ง (Hematoma)
สาเหตุ
บาดเจ็บจากการคลอด
เย็บซ่อมแซมไม่ดี
การบีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการ
เจ็บปวดบริเวณฝีเย็บหรือทวารหนักมากหลังคลอด
หากก้อนเลือดขนาดใหญ่ อาจตกเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
ป้องกันโดย ประคบเย็นที่ฝีเย็บชั่วโมงแรกหลังคลอด
ก้อนเลือดขนาดเล็ก ให้ประคบเย็นเพื่อลดบวม ติดตามประเมินขนาดก้อนเลือด
ก้อนเลือดขนาดใหญ่ อาจต้องผ่าตัด เพื่อระบายเลือด
ให้ยาลดปวด
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
สาเหตุ
ภาวะที่ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผ่าตัดคลอด
ทารกไม่ได้ดูดนมมารดา
ติดเชื้อภายในมดลูก
มดลูกคว่ำหน้าหรือคว่ำหลังมาก
อาการ
น้ำคาวปลาออกมากว่าปกติ สีแดงไม่จางลง กลิ่นเหม็น
มดลูกนุ่ม ใหญ่ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง กดเจ็บ
มีไข้ อาจตกเลือดหลังคลอด
กิจกรรมการพยาบาล
ป้องกันโดยส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก โดยให้ลุกจากเตียงโดยเร็ว นอนคว่ำ หลีกเลี่ยงกระเพาะปัสสาวะเต็ม ท้องผูก เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
หากไม่มีอาการติดเชื้อ อาจให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ประเมินระดับยอดมดลูก
หากติดเชื้อ อาจต้องนอนรพ. ให้ ATB
หากมีรกค้าง อาจทำการขูดมดลูก
แนะนำการพักผ่อนเพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รักษาความสะอาด
ภาวะจิตแปรปรวนหลังคลอด
Postpstum blue
การปรับตัวทางจิจใจและอารมณ์ผิดปกติ ชนิดไม่รุนแรง มีอารมณ์แปรปรวนง่าย เกิดขึ้นและหายไปรวดเร็ว
อาการ
หงุดหงิด เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย
รู้สึกว่าตนไร้คุณค่า วิตกกังวล
อารมณ์รุนแรง
ร้องไห้ง่าย
เหนื่อยล้า
สับสน ฟุ้งซ่าน
Postpatum depression
ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้า ท้อแท้ หมดหวัง รุนแรงกว่า Postpstum blue
ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะแรกหลังคลอด วันที่ 1-3 ซึมเศร้า ฝันร้าย รู้สึกเสียใจ สูญเสีย
ระยะที่ 2 1-3 เดือนหลังคลอด พยายามรวมทารกเป็นสมาชิกในครอบครัว การเปลี่ยนแปลงร่างกายและบทบาทหน้าที่ อ่อนเพลีย อดนอน หงุดหงิดมาก
ระยะที่ 3 1 ปีหลังคลอด พยายามปรับตัว อารมณ์แปรปรวนไม่คงที่ น้อยใจมาก
Postpatum phychosis
พัฒนาจาก Postpstum blue และ Postpatum depression
นอนไม่หลับ หงุดหงิดง่าย วิตกกังวลมาก สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ หลงผิด หวาดระแวง คิดว่าตนไม่ดี และพยายามฆ่าตัวตาย
การรักษา
รักษาทางกาย
จิตบำบัด
แก้ไขสิ่งแวดล้อม