Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
โรคระบบไหลเวียน
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เกิดจากจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) และความต้านทานหลอดเลือด (Peripheral vessel resistant)
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความดันโลหิต
Cardiac output
Blood volume
Resistance
Flexibility of arterial wall
Diameter of artery
Thickness
ประเภทของความดันโลหิต
Essential or primary hypertension
เกี่ยวพันการปฎิบัติตัวเช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
Secondary hypertension
โรคเกี่ยวกับไต และต่อมหมวกไต
การแบ่งระดับของความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิตปกติ
ต่ำกว่า 120/80 mmHg
ระดับความดันโลหิตสูง
Prehypertension ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 120/80-139/89 mmHg
Stage 1 ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140/90-159/99 mmHg
Stage 2 ความดันโลหิตตั้งแต่ 160/100 mmHg เป็นต้นไป
ระดับความดันโลหิตที่สูงมากขั้นวิกฤติ (Hypertensive crisis)
Hypertensive urgency มีความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 180/110 mmHg เป็นต้นไป แต่ยังไม่มี อวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย
Hypertensive emergency มีความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 180/110 mmHg เป็นต้นไป และมีสัญญาณของอวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย เช่น ตา ไต หัวใจ สมองและหลอดเลือด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ (Non modifiable risk factor)
ประวัติครอบครัว พันธุกรรมและปัจจัยหลายอย่าง
อายุ (Age) ความดันโลหิตสูงแบบปฐมภูมิพบบ่อยในช่วงอายุ 30-50 ปี
เพศ (Sex) ผู้ชายมีความเสี่ยงที่จะเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้หญิง
เชื้อชาติ (Race) ผิวดำ ขาวเหลือง
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้ (Modifiable risk factor)
อ้วนมาก (Obesity) โดยเฉพาะอ้วนลงพุง
ภาวะ (Stress) ตัวกระตุ้นทำให้มีภาวะเครียด
สารอาหาร โดยเฉพาะโซเดียม
สารเสพติด บุหรี่ แอลกอฮอล์
ออกกำลังกายหรือมีกิจกรรมทางกายน้อย (Inactivity)
พยาธิสภาพ
ตัวรับความดันโลหิตและตัวรับเคมีในหลอดเลือดแดง (Arterial baroreceptor and chemoreceptor)
การควบคุมปริมาตรน้ำในร่างกาย
ระบบเรนนินแอนจิโอเทนซิน
การควบคุมตัวเองของหลอดเลือด (Vascular autoregular)
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ ลักษณะอาการปวดมักจะปวดที่ท้ายทอย โดยเฉพาะช่วงเช้าหลังตื่นนอน และมักค่อยๆ ดีขึ้นและหายไปเอง
เวียนศีรษะ มึนงง ซึ่งอาจเกิดจากสมองขาดเลือดชั่วขณะ อาจมีอาการคล้ายจะเป็นลม
เลือดกำเดาไหล แต่ไม่พบบ่อย
หายใจลำบากขณะออกแรงหรือทำงานหนัก หรือหายใจลำบากขณะนอนราบ
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ใจสั่น
การรักษา
การรักษาแบบไม่ใช้ยา
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาขับปัสสาวะกลุ่ม Potassium sparing diuretic
ยาขับปัสสาวะกลุ่ม Loop diuretic
ไธอะไซด์ (Thiazide)
ยาต้านอะดรีเนอจิก (แอลฟาและเบตารีเซฟเตอร์)
ยาต้านแคลเซี่ยมเข้าเซลล์
ยาต้านระบบเรนินแอนจิโอเทนซิน
โรคหลอดเลืดสมอง (Stroke)
ประเภทของ Stroke
Ischemia stroke
Thrombosis
Emboli
Hemorrhagic stroke
Intracerebral hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
อาการและอาการแสดง
ระยะเฉียบพลัน (Acute stage)
ระยะ 24 - 48 ชั่วโมง ผู้ป่วยมีอาการหมดสติ มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ระยะหลังเฉียบพลัน (Post acute stage)
ผู้ป่วยเริ่มมีอาการคงที่ 1- 14 วัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ (Recovery stage)
3 เดือนแรก
อาการของสมองขาดเลือดชั่วคราว
มีอาการอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด อยู่ประมาณ 2-30 นาที
10-15% จะเกิดโรคหลอดเลือดสมองภายใน 3 เดือนหลังเกิด TIA ครั้งแรก
เป็นอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทที่เกิดขึ้นชั่วขณะโดยมีสาเหตุมาจากการขาดเลือดและหายเป็นปกติในเวลาภายใน 24 ชั่วโมง
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
ประวัติครอบครัว
ประวัติเคยเป็น โรคหลอดเลือดสมอง
หรือ Stroke มาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้
เป็น HT, DM, สูบบุหรี่, สุรา หรือยาเสพติด
โรคของ carotid artery disease และ peripheral
ไขมันในเลือดสูง
อ้วน ไม่ออกกำลังกาย
การวินิจฉัยโรค
ประวัติ
ประวัติโรคหลอดเลือดสมอง โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
โรคร่วม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
การตรวจร่างกาย
อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีกชาครึ่งซีก
เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ
พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
การตรวจพิเศษ
CT scan, angiogram, MRI
การรักษา
การรักษา Ischemic Stroke
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
อายุมากกว่า 18 ปี
อาการทางระบบประสาทที่สามารถวัดได้โดยใช้ NIHSS
ผล CT scan ของสมองไม่พบเลือดออก
การให้ยา ASA 48 ชั่วโมงหลังได้รับยาฉีด
การให้การพยาบาลขณะและหลังในยาละลายลิ่มเลือด
ผู้ป่วย/ญาติเข้าใจประโยชน์หรือโทษที่จะเกิดจากการรักษา
กรณีที่เป็น Stroke ประเภทที่หลอดเลือดแตกและมีเลือดออกในสมอง ต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการเตือน Stroke แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
หลอดเลือดแดงและดำอักเสบ
(Thromboangitis Obliterans of TAO หรือ Buerger’s disease)
เป็นภาวะที่หลอดเลือดแดงและดำทั้งขนาดกลางและเล็ก บริเวณแขนและขาอักเสบแบบเฉียบพลัน โดยไม่ทราบสาเหตุ
พบมากในผู้ชายอายุระหว่าง 20-35 ปี ที่มีประวัติสูบบุหรี่
อาการ
ระยะแรก มีอาการปวดบริเวณขา และหลังเท้ารุนแรง
มีอาการปวดน่องร่วมด้วยเวลาเดิน เดินไม่ได้ไกล เป็นตะคริว
หลังเดินหรือออกกำลังกาย อาการหายไปเมื่อพัก
อาการเหล่านี้เรียกว่า Intermittent Claudication
ระยะต่อมาจะมีแผลเรื้อรัง ตามนิ้วมือ นิ้วเท้า ในที่สุดอาจถูกตัดนิ้วมือและเท้าได้
การวินิจฉัย
เบื้องต้นจากประวัติ
การตรวจ ABI หรือ Droppler ultrasound, Artheriograms
การรักษา
งดสูบบุหรี่
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
ให้ยาขยายหลอดเลือด แก้ปวด ตามอาการ
ให้ยา NSIAD เมื่อมีอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
การรักษาโดยการผ่าตัด
Debride
Lumbar sympathectomy
การผ่าตัดหลอดเลือดซึ่งมักไม่ได้ผลเพราะหลอดเลือด
การคำนวน ABI = Ankle pressure/Brachial pressure (highest)
ABI อยู่ในช่วง 0.3 – 0.8 Claudication
ABI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.3 Rest pain
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ Peripheral artery disease (PAD)
หลอดเลือดแดงขนาดกลาง หรือเส้นใหญ่ มีการสะสมของไขมัน และแคลเซี่ยมที่ผนังด้านในของหลอดเลือดแดงทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะน้อยลง
สาเหตุ
แรงดันของความดันโลหิต
การอักเสบจากโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื้อบางชนิด เช่น Chlamydia pneumoniae or Helicobacter pylori)
สารเคมีในร่างกาย
ปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่
ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ประวัติการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดตีบก่อนวัยในครอบครัว
เพศ อายุ
อาการ
คล้ายหลอดเลือดแดงอักเสบ คือ จะมีอาการปวดรุนแรงบริเวณที่หลอดเลือดแดงไปเลี้ยง เช่น บริเวณ แขน ขา น่อง
การรักษา
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยยา
ยาต้านเกล็ดเลือด Anti-Platelet Agents
Anticoagulation Agents – ยาละลายลิ่มเลือด
การผ่าตัด
Balloon angioplasty
Bypass
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนราบขาเหยียดตรง ห้ามงอ ห้ามเอาหมอนรองใต้เข่า
สังเกตออาการ Bleeding, pain, infection, ขาดเลือด, หายใจและวิตกกังวล
เฝ้าระวังภาวะเลือดออกง่าย
คำแนะนำป้องกันกลับเป็นซ้ำ ได้แก่ งดบุหรี่ ควบคุมไขมันในเลือด
สังเกตอาการผิดปกติ 6 P ได้แก่ ปวดขามาก ไข้ แขนขาอ่อนแรง เย็น คลำชีพจรไม่ได้ แผลตัดเชื้อให้มาพบแพทย์
หลอดเลือดดำขอด (Varicose vein หรือ Varicosities)
สาเหตุ
การเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดหลอดเลือดขอดเพิ่มขึ้น คือ การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน
เพศ พบว่าเพศหญิงมีอัตราการเกิดสูงกว่าเพศชาย
พยาธิสภาพ
เกิดจากลิ้นกั้นในเลือดเลือดเสียหน้าที ทำให้การไหลเวียนเลือดผิดปกติ ไม่สามารถไล่เลือดให้ไหลกลับสู่หัวใจได้หมด
เกิดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำ ทำให้หลอดเลือดดำขยายตัวกว้างใหญ่ขึ้น ยาวขึ้นและหงิกงอ
พบได้บ่อยบริเวณขา น่อง ข้อเท้า และหลังเท้า
อาการ
ปวดตื้อ ๆ บริเวณขา กล้ามเนื้อเป็นตระคริว
มีอาการเมื่อยล้าขามากผิดปกติ
ถ้าเป็นเส้นเลือดขอดในระดับรุนแรง จนมีหลอดเลือดอุดตัน จะมีอาการบวมปวด ขามีสีคล้ำ
การวินิจฉัย
ตรวจ Bodiettrendendelenberg test
ตรวจ Ultrasonography และ venography
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
การผ่าตัดนำหลอดเลือดที่ขอดออก
หลังผ่าตัดพยาบาลควรตรวจสอบเกี่ยวกับการตกเลือด (Hemorrhage)
ควรคลำ pedal pedis pulse ตรวจการทำหน้าที่ของ Motorและ Sensory ของขาทุก 2 ชั่วโมง เป็นเวลานาน 8 ชั่วโมงหลังผ่าตัด
คลายผ้ายืดวันละ 3 ครั้ง และพันใหม่ทุกครั้ง
ผู้ป่วยฟื้นแล้วสามารถเดินได้ตั้งแต่วันแรก
แนะนำเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ห้ามนั่งไขว่ห้าง
หลีกเลี่ยงการยืนนาน ๆ
สวม Elastic stocking
ลุกเคลื่อนไหว ทุก 35-45 นาที เมื่อนั่งนาน หรือเดินทางด้วยเครื่องบิน
Thrombopheblitis
สาเหตุ
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
อาการ
ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาดเลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน
ปัจจัยเสี่ยง
อ้วน ตั้งครรภ์ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การรักษา
ให้ยาขยายหลอดเลือด และยาละลายลิ่มเลือด
ถ้ารักษาด้วยยาไม่ได้ผลทำการผ่าตัดขยายหลอดเลือดหรือเอาก้อนเลือดออก
การพยาบาล
ห้ามวิ่ง เดินนาน หรือยกน้ำหนัก
ใส่ผ้ายืดหรือถุงน่องรัดขาไว้
ห้ามใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมน
ดูแลป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำโดยการจัดการปัจจัยเสี่ยง
ลดน้ำหนัก
หลอดเลือดดำตีบ
(Deep vein thrombosis)
โรคหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน หรือ "กลุ่มอาการเครื่องบินชั้นประหยัด" (Economy Class Syndrome)
พยาธิสภาพ
ปกติเลือดในหลอดเลือดดำจะไหลเวียนอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อมีภาวะที่เลือดดำหยุดไหลเวียนและจับแข็งตัวเป็นภาวะ Trombosis
Thrombosisในหลอดเลือดเรียกภาวะนี้ว่าลิ่มเลือดคั่งในหลอดเลือดดำ(blood clot) ภาวะนี้อาจจะเกิดร่วมกับการอักเสบของหลอดเลือดดำ
thromboplebitis คือมีทั้งลิ่มเลือดและการอักเสบของหลอดเลือด
สาเหตุ
หลอดเลือดดำได้รับอันตราย เช่นอุบัติเหตุกระดูกหัก
เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนช้าลง
การที่เลือดมีการแข็งตัวง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
คนแก่ นอนไม่เคลื่อนไหวมากว่า 3วัน
อัมพาต การเข้าเผือก
การที่ต้องนั่งรถ รถไฟ เครื่องบิน หรือนั่งไขว่ห้าง
การใช้ยาคุมกำเนิด ฉีดยาเสพติด
อาการ
อาการบวมที่เท้าเนื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดีมักจะบวมข้างเดียว
เส้นเลือดโป่งพอง
ปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย
เวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
venography
venous ultrasound
MRI
การรักษา
วิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
การป้องการคือการลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือด
ต้องรีบให้การรักษาโดยรับตัวไวในโรงพยาบาล
เลือกให้ heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั้นต้องให้ warfarin เพื่อป้องกันลิ่มเลือดอีก 3 เดือน
นางสาวมนต์สิกานต์ รักษ์สัตย์ รหัสนักศึกษา 612501060