Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคม สำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาวธนภรณ์ …
การพยาบาลด้านจิตสังคม
สำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
เตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงที
เตรียมความพร้อม
บุคคล
องค์กร
ชุมชน
จัดเตรียมโครงสร้างการดำเนินงานช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
จัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
จัดเตรียมทีมให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
ฝึกอบรม
ปฐมพยาบาลทางจิตใจ (PFA)
การช่วยเหลือ
จิตใจ
สังคม
การบำบัดพฤติกรรมความคิด (CBT)
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตแบบ Satir
การพัฒนาความรู้
การใช้แบบประเมิน
แบบประเมินคัดกรองสุขภาพจิต
เด็ก
ผู้ใหญ่
วัฒนธรรม
ธรรมเนียมปฏิบัติ
เตรียมความพร้อมชุมชน
ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติแก่ชุมชน
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
ซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต
72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ
มุ่งความช่วยเหลือเฉพาะหน้า
เน้นความช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
ร่างกาย
ที่อยู่อาศัย
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ของใช้ที่จำเป็น
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PEA)
ระยะฉุกเฉิน
72 ชั่วโมง-2 สัปดาห์
สำรวจข้อมูลสถานการณ์ และความต้องการของผู้ประสบภัย
วางแผนให้ความช่วยเหลือ
ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
ค้นหากลุ่มเสี่ยงแต่ละวัย
จัดลำดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยง
เร่งด่วน
ต่อเนื่อง
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพ (Engagrment)
สังเกต
Nonverbal
สีหน้า
แววตา
ท่าทาง
การเคลื่อนไหวร่างกาย
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง
ด่าทอ
ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดซ้ำไปซ้ำมา
พูดกวน
การสร้างสัมพันธภาพ
ท่าทีสงบนิ่ง
แนะนำตัวเอง
มองหน้าสบตา
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจ
พยักหน้า
สัมผัส
การสื่อสาร
ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง
ไม่ซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment)
ร่างกาย
จิตใจ
ช็อกและปฏิเสธ
โกรธ
ต่อรอง
เสียใจ
ฆ่าตัวตาย
สังคม
เสริมสร้างทักษะ (Skills)
ฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
สัมผัส (Touching skill)
Grounding
นวดสัมผัส
ลดความเจ็บปวดทางใจ
ฟังอย่างใส่ใจ
สะท้อนความรู้สึก
เงียบ
ทวนซ้ำ
เสริมสร้างทักษะ
ให้สุขภาพจิตศึกษา (Education)
ตรวจสอบความต้องการ
เติมเต็มความรู้
ติดตามต่อเนื่อง
นางสาวธนภรณ์ ปิ่นแก้ว 6001210354 เลขที่ 19 Sec.B