Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สาเหตุการคลอดยาก(dystocia), นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี …
บทที่ 6
สาเหตุการคลอดยาก(dystocia)
4.Psychological
สาเหตุ
ความอ่อนล้า หมดแรง (exhaustion)
การตังครรภ์
Estrogen progesterone
การควบคุมสารน้ำ electrolyte เสียไป
สูญเสียน้ำออกจากร่างกาย
การคลอด
งดอาหารและน้ำทางปาก
ความเจ็บปวดจากการหดรัดตัวของมดลูกรุนแรง
มูกเลือดและน้ำคร่ำ
พักผ่อนน้อยลง
ความวิตกกังวล (Anxiety)
ความกลัว
สิ่งแวดล้อม
การขาดความรู้
ไม่เป็นไปตาม ความคาดหวัง
Fear – tension -pain
ฮอร์โมน
เบตาเอ็นดอร์ฟิน
อดรีโนคอร์ติโคโทรปิค
คอร์ติโซน
อิพิเนฟริน
ผลกระทบ
ผู้คลอด
การคลอดล่าช้าและคลอดยาก
ปากมดลูกเปิดช้าลง
การคลอดล่าช้า
ความเจ็บปวดรุนแรงขึ้น
ทารก
หัวใจของทารกเต้นช้าลง
ทารกคะแนน APGAR ต่ำ
3.Passage
Pelvic inlet
Pelvic inlet
: Diagonal conjugate 11.5 cms. (10/12 cms.)
pelvic cavity
เป็นรูปรีตามขวาง
transverse diameter 13 cms.
Inlet contraction
A - P diameter < 10 cms. ( ปกติ 10.5 cms. )
Transverse diameter < 12 cms. ( ปกติ 13.5 cms. )
Obstetric conjugate < 10 cms. ( ปกติ 12 cms. )
Diagonal conjugate < 11.5 cms.
การประเมิน
2.การตรวจทางช่องคลอด
วัด Diagonal conjugate < 11.5 cms.
วัดได้ขอบ 2 ข้างของ Pelvic inlet : Transverse diameter สั้น
ไม่มีการเคลื่อนลงของศีรษะทารกเมื่อดันยอดมดลูก
3.X - ray
1.ตรวจทางหน้าท้อง
ดันยอดมดลูกจะพบว่าศีรษะทารกเกยติดที่ SP.
In labor : ศีรษะไม่มีการ Engagement โดยเฉพาะ : G1
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ : ก้น , หน้า
4.Ultrasound
ประเมินBiparietal diameter ( ปกติ 9.5 - 9.8 cms. )
การดูแล
Trial labor
ศีรษะทารกมีขนาดเล็ก
ศีรษะทารกมีการก้มเตม็ที่
ศีรษะทารกมีการตะแคง
เชิงกรานชนิด Gynecoid
มดลูกหดรัดตัวปกติดี
ปากมดลูกเปิดขยายตามปกติ
เคยผ่านการคลอดทางช่องคลอด
ไม่มีโรคแทรกซ้อน
Mid-pelvis
Mid-pelvis
: Interspinous diameter 9.5 cm. (9 cms.)
Mid pelvis
เป็นท่อโค้งค่อนข้างกลม
tranverse diameter : 10 cms.
Contrated midpelvis
Interspinous diameter < 9 cms ( ปกติ 10.5 cms. )
ผลบวกของ Interspinous diameter และpost sagittal diameter < 13.5 cms. ( ปกติ 15.5cms. )
การประเมิน
Ischial spines นูนเด่น
ด้านข้างของเชิงกรานสอบนูนเข้าหากัน
Sacrosciatic notch แคบ
Intertuberous diameter แคบ
มี Inlet contraction ร่วมด้วย
มักพบมีการหยุดชะงักการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การดูแล
ไม่ควรใช้ Oxytocion
V/E ดีกว่า F/E
แคบมาก เด็กตัวโต : C/S
Pelvic outlet
Pelvic outlet
: Biischial diameter 8 cms./ Pelvic arch angle 80 degree
pelvic outlet
: ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน,anteroposterior diameter : 13.5 cms.
การพยาบาล
การใช้หัตถการช่วยคลอด
เนื้องอกของมดลูก มีถุงน้ำที่ รังไข่ มะเร็งปากมดลูก
ปากมดลูกผิดปกติ เช่น ตีบ ตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น เกิดจากหูดหงอนไก่
ช่องคลอดผิดปกติ เช่น ตีบ และแคบมาตั้งแต่กำเนิด ประวัติผ่าตัดและพังผืด
ปากช่องคลอด และฝีเย็บผิดปกติ เช่น แข็งและไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ ได้แก่ คว่ำหน้า คว่ำหลัง
ปากมดลูกบวม
กระเพาะปัสสาวะเต็มหรือมีอุจจาระมาก
การขยายช่องทางคลอด , การเสริมการหดรัดตัว ของมดลูก
ปากช่องคลอด และฝีเย็บ ผิดปกติ เช่น แข็งและไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ ได้แก่ คว่ำหน้า คว่ำหลัง
ปากมดลูกบวม
กระเพาะปัสสาวะเต็มหรือมีอุจจาระมาก
ความผิดปกติ
1. Contracted pelvis
(กระดูกเชิงกรานแคบ) เส้นผ่าศูนย์กลางต่างสั้นมากกว่า 1 ซม.
2.Cephalopelvic disproportion(CPD)
: การผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
ตรวจทางคลินิค
ตรวจร่างกาย
: Martin pelvimeter
รูปร่างของมารดา : เล็ก ส่วนสูงน้อยกว่า 145 ซม. กระดูก สันหลังคดงอ
ประวัติมารดา : คลอดยาก ตายคลอด ช่วยคลอด อุบัติเหตุ
ตรวจครรภ์เมื่อครบกำหนด : ศีรษะยังลอยอยู่
ตรวจภายใน
: Pelvic examination ; inlet ,mid , outlet
Hellis -Muller maneuver
: กดยอดมดลูก
x-ray pelvimetry
: กระดูกแตกหัก,โรคของกระดูกเชิงกราน
Munro Kerr maneuver
: กดศีรษะเด็กเหนือหัวเหน่า
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่การดำเนินการคลอดผิดปกติ
1. ประเมินปัญหา
: ตรวจร่างกาย,ตรวจภายใน,การหดรัดตัวของมดลูก,สภาพทารกในครรภ์,สัญญาณชีพมารดา ปริมาณน้ำเข้า- ออก
2. วินิจฉัย
: ปัญหาการคลอดนาน,การขาดน้ำ,ปวด,วิตก/กลัว
3. กิจกรรมพยาบาล
: ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก ตรวจสภาพทารกในครรภ์ ตรวจสัญญาณชีพมารดา ดูแลการให้สารน้ำ ยา ดูแลผู้คลอด
นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี รหัส 602701069 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม