Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด และการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินใ…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด และการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
ภาวะฉุกเฉินผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
ภาวะเลือดออก
เกิดจกการฉีกขาดอวัยวะภายใน
การไหลเวียนลดลงทำให้เกิด Hypovolemic shock
ภาวะแทรกซ้อน
การบวมของเซลล์
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate)
ทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง
ปวดท้องรุนแรง ปวดเกร็ง
Organ failure
การพยาบาลเบื้องต้น
Resuscitation
เป็นการแก้ไขภาวะ immediate life threatening conditions
Secondary survey
ใช้การซักประวัติ ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
Primary survey
A. Airway maintenance with Cervical Spine control
ระวังการบาดเจ็บของ C-spine เสมอ
airway obstruction, foreign bodies, facial, mandibular
B. Breathing and ventilation
โดยดูภาวะ Apnea ภาวะupper airway obstruction
C. Circulation with hemorrhagic control
D. Disability: Neurologic status
คือการประเมิน neurological status
E. Exposure/ Environment control
Definitive care
Safe life Safe organ Safe function
ลักษณะและอาการแสดง
กดเจ็บเฉพาะที่หรือมีการเกร็ง
อาการท้องอืด
ปวดจากการฉีกผนังหน้าท้องหรืออวัยวะได้รับวามเสียหาย
ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว
ผู้ป่วย Shock หากไม่เห็นเลือด คำนึงถึงการเสียเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บช่องท้อง
การบรรเทาความเจ็บปวดโดยวิธีการใช้ยาตามแผนการรักษาและวิธีการไม่ใช้ยา
ลดความวิตกกังวลครอบครัวและผู้ป่วย
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
การเฝ้าระวัง
การดูแลระบบหายใจ
การบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt injury
บาดเจ็บจากการกระแทก
บาดเจ็บร่วมกันหลายแห่ง
Penetrating trauma
Gun short wound
Stab wound
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
Pulmonary embolism
อาการ
ออกซิเจนในเลือดต่ำ หลอดแดงที่คอโป่ง
ได้ยิน Wheezing or Pleural rub
เหนื่อยหอบ ใจสั่น แน่นหน้าอก
Cyanosis
ไอเป็นเลือด
การวินิจฉัย
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
right ventricular dysfunction
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง
ค่า alveolar-arterial oxygen gradient กว้าง
hypocapnia
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG)
พบมี T-inversion ใน leads V1 -V3
right bundle branch block (CRBBB)
พบว่าหัวใจเต้นเร็ว (sinus tachycardia)
D-dimer ซึ่งเกิดจากการที่ fibrin ถูกย่อยสลายโดย plasmin บ่งบอกว่ามีกระบวนการสลาย ลิ่มเลือดเกิดขึ้นภายในร่างกาย
การถายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray)
เห็นมี infiltration ที่บริเวณปอด
Troponin-I หรือ T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide อาจสูงกว่าปกติได้
การซักประวัติตรวจร่างกาย
ปัจจัย
DVT
immobilization นานเกิน 3 วัน
มะเร็ง
หลังคลอด 3 สัปดาห์หรือใช้เอสโตรเจน
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกบริเวณขาหัก ใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
การรักษา
Thrombolytic therapy มักจะเก็บไว้ในผู้ป่วยที่มีกรณีmassive pulmonary emboli
Caval filter คือการใส่ตะแกรงกรอง embolism ใน inferior vena cava
การให้heparin ในหลอดเลือดดําในช่วงแรกและการให้ยา Coumadin ต่ออีกเวลาประมาณ 3 เดือน
พยาธิสภาพ
เป็นภาวะที่เกิดจากการที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นในหลอดเลือดดํา และหลุดไปอุดที่หลอดเลือดที่ปอด
Acute MI
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยแยกโรค ไม่แน่ใจให้ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่ม
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน เป็นนาน 20 นาที อมยาใต้ลิ้มไม่หาย
การซักประวัติในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ํา
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ
การรักษา
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น ซ้ำทุก 5 นาที
หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้น หลังได้ยาอมใต้ลิ้น พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg
ให้ Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด
เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันต่ำ
นอนที่อากาศถ่ายเทสะดวก ให้ O2 ดูคลื่นไฟฟ้าหัวใน
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
อาการ
เป็นมากขณะออกกําลังซึ่งอาการเจ็บเค้นอก
นั่งพักหรืออมยา nitroglycerin อาการจะทุเลาลง
ปวดเมิ่อย อึดอัด แน่นหน้าอก
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
อาการ
เหนื่อยขณะออกกําลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์
อาการนําที่สําคัญ
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ําเฉียบพลัน
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
เรื้อรัง
ตับโต นอนราบไม่ได้
ขาบวม
หัวใจล้มเหลว ซ้ายและขวา
เฉียบพลัน
หายใจเข้าไม่เต็มปอด
อาการเจ็บเค้นอกร่วมด้วย
หายใจหอบ นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด
แบ่งได้ 2 ชนิด
ST elevation acute coronary syndrome
ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกัน
Non ST elevation acute coronary syndrome
มักพบลักษณะของคลื่น ไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ําเฉียบพลัน
อาการ
หน้ามืด เวียนศีรษะเป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
ความดันโลหิตลดลง
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
การรักษา
ควรพิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว ในผู้ป่วย (3rd degree AV block)
ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก
ต้องทําการกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก
การวินิจฉัย
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead
ตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูงหรือสวนหัวใจ
ตรวจชีพจรการเต้นของหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจในสถานที่
อาจคิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในผู้ที่มีอาการหมดสติชั่วคราว
บทบาทของพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
EKG monitoring สังเกตอาการเหงื่อแตก ตัวเย็น ซีดเขียว ปัสสาวะ
ออกน้อย ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ให้ออกซิเจน
เมื่อมีภาวะ hypoxemia (SaO2 < 90% or PaO2 < 60 mmHg)
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
กรณีสถานพยาบาลไม่มี PCI center พิจารณา refer ส่งไปทํา
Primary PCI สถานพยาบาลอื่นที่พร้อม
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยถึงจุดหมายไม่เกิน 120
ประสานงาน
ให้การดูแลแบบช่องทางด่วนพิเศษ ACS fast track
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
การซักประวัติตามหลัก OPQRST
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
ส่งกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอันดับแรก