Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของสมอง…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของสมองและไขสันหลัง
ความบกพร่องของสติปัญญา และภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง
โรคพาร์กินสัน (Parkinson's Disease)
สาเหตุ
ร่างกายขาดสารโดปามีน พบได้บ่อยในผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง
การเสื่อมและตายไปของเซลล์สมองที่สร้าสารโดปามีน
อาการ
อาการสั่น(tremor)
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (rigidity)
เคลื่อนไหวช้า (brady kinesia)
อาการทรงตัวลำบาก (postural instability)
อาการสั่นนี้จะมีลักษณะเฉพาะคือ สั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ แต่ถ้าเคลื่อนไหว หรือยื่นมือทำอะไรอาการสั่นจะลดลงหรอหายไป
ท่าเดินผิดปกติ
แสดงสีหน้าเฉยเมย
การกลอกตากระตุก
น้ำลายไหล
อาการซึมเศร้า และนอนไม่หลับ
การรักษา
ขณะนี้ยังไม่มีวิธีการรักษาใด
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาที่ช่วยชะลออาการ (neuroprotective therapy)
elegiline (Deprenyl) จะใช้บ่อยมักใช้ควบคู่ไปกับ ยา Levodopa จะช่วยป้องกันการท าลายโดปามีนในสมอง
รักษาตามอาการ
anticholinergic ใช้ส าหรับอาการสั่น
Levodopa ช่วยในการทดแทนสารสื่อประสาทที่ลดน้อยลง
การรักษาด้วยการทำกายภาพบำบัด
การผ่าตัดสมอง
การรักษาโดยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง เรียกว่า deep brain stimulation (DBS)
Alzheismer's
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
อายุ พบว่า ผู้ป่วยส่วนมากอายุ 65 ปีขึ้นไป
ประวัติการป่วยภายในครอบครัว
ป่วยด้วยโรคดาวน์ซินโดรมหรือพากินสัน (Down's syndrome/Parkinson's disease)
พยาธิสภาพ
สมองเหี่ยวและมีน้ำหนักลดลง ร่องสมอง (succus) และ ventricle กว้างขึ้น
acetylcholine ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทในสมองที่ทำหน้าที่เป็น ตัวกระตุ้น มีปริมาณลดลง
อาการและอาการแสดง
อาการทางเชาวน์ปัญญา (cognitive aspect)
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงร่วมกับอาการทางจิต (behavioural and psychological symptom of dementia)
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติจากญาติที่ดูแล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
เอ็กซเรย์สมองด้วยคอมพิวเตอร์
คลื่นแม่เหล็ก (MRI)
การรักษาและการดูแล
โรคนี้ยังไม่มีการรักษาที่แท้จริง
การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น
รับประทานอาหารที่เหมาะสม
การทำกายภาพบำบัด
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
การให้ยาสามารถช่วยลดความกังวล
tacrine (Cognex)
donepezil hydrochloride (Aricept)
Multiple Sclerosis
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด พบบ่อยในช่วงอายุ 30-40 ปี
ภูมิคุ้มกัน
การอักเสบติดเชื้อจากไวรัสอย่างช้าๆ
กรรมพันธุ์
สภาพแวดล้อมยังไม่ทราบปัจจัยที่แน่นอน
พยาธิสภาพ
CNS มีการทำลายของ Myelin nerve axon sheaths และบางครั้ง axon ก็ถูกทำลายด้วย ทำให้การ ส่งกระแสประสาทขาดช่วงเป็นระยะๆ
อาการและอาการแสดง
แขนขาอ่อนแรง
พูดตะกุกตะกัก ลูกตากระตุก
การรับความรู้สึกผิดปกติรวมถึงอาการชาและอาการเสียวแปลบของ แขนขา ลำตัวหรือใบหน้า
กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนครึ่งล่างอ่อนแรง
การเห็นผิดปกติ เห็นภาพซ้อน ภาพมัว
ระบบการขับถ่ายเสียหน้าที่ การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะผิดปกติ
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
การวินิจฉัย
จากอาการเฉพาะที่ทางคลินิคที่ปรากฎให้ชัดเจน
การเจาะหลังพบ ระดับ grammar globulin ในน้ าไขสันหลังมีค่าสูง รวมทั้งโปรตีนและเม็ดเลือด
CT scan
การตรวจคลื่นสมอง
การรักษาและการดูแล
การให้ ACTH
การรักษาทางยา ส่วนใหญ่แพทย์จะให้ยาลดอาการกล้ามเนื้อกระตุก
ให้ยาลดสภาพของอารมณ์ที่ไม่มั่นคง
Diazepam
การทำกายภาพบำบัด
Guillain-Barre Syndrome (GBS)
สาเหตุ
การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
การติดเชื้อของระบบทางเดินอาหาร
คางทูม หัด อีสุกอีใส
ภายหลังการได้รับวัคซีนโรคไข้หวัดใหญ่
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อ ไวรัส จะกระตุ้นปฏิกิริยาตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบเฉพาะเจาะจงทั้งการสร้าง แอนติบอดี้ และทีลิมโฟไซล์มาท าลายเชื้อโรคที่เป็นสิ่งแปลกปลอม
เมื่อเยื่อหุ้มมัยอีลินบางส่วนถูกททำลาย จะทำให้ความสามารถในการส่งผ่าน สัญญาณประสาทบกพร่องหรือไม่สามารถส่งผ่านสัญญาณประสาทไปยัง กล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวได้ ส่งผลทำให้เกิดอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการทางด้านประสาทรับความรู้สึก
อาการของกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการลุกลามของประสาทสมอง
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การดำเนินโรค
ระยะเฉียบพลัน(Acute phase) ใช้เวลานานประมาณ 1-3 สัปดาห์ อาการแสดงที่ส าคัญ คือ กล้ามเนื้ออ่อนแรงมาก อาจจะถึงเป็นอัมพาตอย่างสมบูรณ์ และการ หายใจล้มเหลว ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ
ระยะอาการคงที่ (Static phase) เป็นระยะที่ความเสื่อมคงที่ ร่างกายไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อจะไม่ดีขึ้น แต่ไม่เลวลง อาการเจ็บปวดและอาการชาจะเริ่มลดลง ใช้เวลาตั้งแต่ 2-3 วัน จนถึง 2-3 สัปดาห์
ระยะฟื้นตัว(Recovery phase)
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและอื่นๆ
การเจาะหลัง
การตรวจการนำไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ
การตรวจการนำไฟฟ้าของเส้นประสาท
การรักษาและการดูแล
การช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว
การให้ยากลุ่มสตีรอยด์
การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า (plasmapheresis)
Myastenia Gravis
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของกล้ามเนื้อ
เชื่่อว่ามีความสัมพันธ์กับออโตอิมมูน(autoimmune)
อาจพบร่วมกับคนที่มีต่อมไทมัส (thymus gland) โต
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติที่ระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกายที่เกี่ยวข้องกับต่อมไทมัส
สร้างแอนติบอดี้มาทำลายตำแหน่ง ทำให้มีระดับสารสื่อประสาท acetylcholine ลดลง
อาการและอาการแสดง
ที่พบได้บ่อย คืออาการหนังตาตก (ptosis) ซึ่งมักเกิดเพียงข้างเดียว
ถ้าเป็นมากขึ้น อาจมีอาการพูดอ้อแอ้ กลืนลำบาก พูดเสียงขึ้นจมูก
ในรายที่เป็นมาก อาจมีอาการอ่อนแรงของแขนขาบางส่วนจนลุกขึ้นยืน หรือเดินไม่ได้
การวินิจฉัยโรค
การอาศัยประวัติ
ตรวจร่างกาย อาการและอาการแสดง
ทดสอบโดยการฉีดนีโอสติกมีน(Neostigmine) เข้าใต้หนัง หรือฉีดเทนซิลอน(Tensilon) เข้าหลอด เลือดดำ ซึ่งจะทำให้อาการดีขึ้นถ้าเป็นโรคนี้
การตรวจพิเศษอื่นๆ
CT-scan หรือ MRI
การรักษาและการดูแล
การให้ Anticholinesterase
คอร์ติโคสตีรอยด์
รายที่ตรวจพบว่ามีต่อมไทมัสโตรวมดวย อาจต้องผ่าตัดเอาตอมไทมัสออก
(thymectomy) ซึ่งอาจจะช่วยให้อาการดีขึ้น
การเปลี่ยนพลาสม่า (plasmapheresis)
การบาดเจ็บไขสันหลัง
(SPINAL CORD INJURIES)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การบาดเจ็บ (Trauma)
อุบัติเหตุรถยนต์ จักรยานยนต์
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ (Non-traumatic disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
การอับเสบของเยื้อหุ้มไขสันหลัง
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บแบบงอ (Flexion injury)
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ (Hyperextension injury)
การบาดเจ็บท่างอ และหมุน (Flexion with rotation injury)
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด (Compression injury)
การบาดเจ็บแบบ (Penetrating injury)
การบาดเจ็บที่มีลักษณะเฉพาะ
6.1 Fractures of the odontoid process
6.2 Hangman's Fracture
6.3 Jefferson fracture
ประเภทของการบาดเจ็บ
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Complete cord injury)
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
ในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (PREHOSPITAL PHASE)
การดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่งขณะเดียวกันต้องระวัง
ไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนโดยการใส่ Philadelphia collar
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายและเจ็บปวดน้อยที่สุด
การเคลื่อนย้าย (transportation) ต้องใช้คนช่วยอย่างน้อย 3 คน
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ใช้หลัก ABCDE
การตรวจทางรังสีวิทยา
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระยะเฉียบพลัน
Breathing
Circulation (keep MAP ≥ 85 mmHg)
การให้ยา
High-dose Methyprednisolone
การให้ยาในกลุ่ม H2 antagonist และ Proton Pump Inhibitor (PPI)
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
การดูแลระบบทางเดินอาหาร และการขับถ่ายอุจาระ
การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจะเกิด
ภาวะ neurogenic bladder
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
จัดหาเตียงที่เหมาะสม
Spinal Shock
ภาวะที่ไขสันหลังหยุดทำงานชั่วคราว ภายหลังได้รับบาดเจ็บ
ไขสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บใหม่ๆ จะบวมมาก ใยประสาทจึงหยุดทำงานชั่วคราว เมื่อยุบบวมใยประสาท จึงกลับมาทำงานได้ปกติ
อาการและอาการแสดง
อวัยวะที่อยู่ต่ำกว่าระดับไขสันหลังได้รับบาดเจ็บจะเป็นอัมพาต แบบอ่อนปวกเปียก (flaccid paralysis)
ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
ไม่มีรีเฟล็กซ์ (areflexia)
ผิวหนังเย็นและแห้ง
อวัยวะเพศชายขยายตัว (priaprism)
คัดจมูกเนื่องจากหลอดเลือดในโพรงจมูกขยายตัว (Guttmann’s sign)
Neurogenic Shock
ภาวะช็อคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท
อาการสำคัญ
ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
bradycardia
hypothermia
การพยาบาล
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้ systolic blood pressure มากกว่า 90 mmHg
ระวังอย่าให้สารน้ำมาก
ติดตามค่า hemoglobin และ hematocrit
บันทึกจำนวนปัสสาวะ
บันทึกสัญญาณชีพ monitor EKG
หลักการรักษากระดูกสันหลังไดรับบาดเจ็บ
กระดูกสันหลังระดับคอที่มีการแตกหัก (burst fracture) หรือมีการเคลื่อน (fracture dislocation)
Skull tong traction
หากไม่พบกระดูกสันหลังมีการแตกหักหรือเคลื่อน แต่พบความผิดปกติ ของระบบประสาท (neurological deficit)
Philadelphia Collar หรือ hard collar
การรักษากระดูกสันหลังหัก
decompression and stabilization
การใช้เครื่องพยุงกระดูกสันหลังภายนอก (orthosis)
นางสาวมนต์สิกานต์ รักษ์สัตย์ รหัสนักศึกษา 612501060