Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อในระบบสืบพันธ์ุสตรี ในระยะ 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดหรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
ประเภทการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉพาะที่
บาดแผลภายนอก
ฝีเย็บช่องคลอด
บาดแผลภายใน
ปากมดลูด เยื่อบุมดลูก
และจะไม่ลุกลาก
การติดเชื้อแพร่กระจายการติดเชื้อลุกลามไปนอกมดลูก
การติดเชื้อที่เยื่อบุช่องท้อง
(Peritonitis)
การติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
(Pelvic cellulitis)
หลอดเลือดดำอักเสบ
(Thrombophlebitis)
สาเหตุ
แบคที่พบตามปกติที่ช่องคลอดส่วนล่าง มีผลกับร่างกายอ่อนแอ เนื้อเยื่อได้รับการชอกช้ำ
แบคทีเรียจากทางเดินหายใจ มือของเจ้าหน้าที่ ฝุ่น เทคนิคการทำคลอด เครื่องมือไม่ปลอดเชื้อ
ประเมินร่างกาย
ปัจจัยส่งเสริม
ภาวะโลหิตจาง ทุพโภชนาการ สุขวิทยาไม่ดี MR > 12 ชม./ น้ำเดินก่อนกำหนด 24 ชม. คลอดผิดปกติ ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ได้รับ PV บ่อยๆ /ไม่ปราศจากเชื้อ
เนื้อเยื่อช่องคลอดกระทบกระเทือน
Hematoma
ตกเลือด > 1,000 cc
รกค้าง
ประเมินบริเวณติดเชื้อ
ฝีเย็บ
การอักเสบของปากมดลูก (Cervicitis)
เยื่อบุมดลูกอักเสบ (Endometritis)
ผนังมดลูกอักเสบ
ติดเชื้อกระจายออกนอกมดลูก
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
ติดเชื้อ Staphylococcus Aureaus
สาเหตุ
หัวนมแตก
บีบนวดเต้านมมากๆ
เต้านมคัดมาก ท่อนมอุดตัน
การดูดนมของทารกที่ีมีเชื้อในมูก คอ
อาการ อาการแสดง
ไข้สูง 38.5-40.0 องศาเซสเซียส หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
ปวดเต้ามนม เต้านมหนัก
ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด อาจมีหนองขึ้นอยู่กับความรุนแรง
ต่อมเหลือที่ีรักแร้อาจโต และเจ็บ
การรักษา
ให้ ATB
I&D
ให้ยาแก้ปวด
การป้องกัน
รักษาความสะอาดของเต้านม
ล้า่งมือก่อนหลังให้นม
ดูแลเต้านมให้ว่าง
ดื่มน้ำ 3 ลิตร/วัน
สวมเสื้อขุดชั้นในพอดีกับเต้านม
การพยาบาล
ตรวจการอักเสบ แผล สิ่งคัดหลั่ง ทำแผลทุกวัน ใส่ gauze drain หลังทำ I&D
งดให้ทารกดูดนมข้างอักเสบ
ให้ ATB /ยาแก้ปวด
ดูแลให้มารดาได้รับน้ำ อาหารอย่างเพียงพอ
ประคบร้อนก่อนให้นม และประคบเย็นหลังให้นม
ใส่ยกทรงพยุงเต้านมไว้
การบวมเลือดหรือก้อนเลือดคั่ง (Hematoma)
สาเหตุ
บาดเจ็บจากการคลอดในรายที่คลอดเอง/ทำสูติศาสตร์หัตถการ
เย็บซ่อมแซมฝีเย็บ/แผลฉีกขาดที่ฝีเย็บไม่ดี
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการ อาการแสดง
บวมเลือดช่องคลอด ปวดบริเวณฝีเย็บ/ทวารหนักมาก
บริเวณอื่นๆ ปวดบริเวณนั้นตามกดของก้อนเลือด
ก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ อาจตกเลือดได้ อาจไม่สัมพันธ์กับจำนวนที่ออกทางช่องคลอด
การพยาบาล
ป้องกันการบวมเลือด วางกระเป๋าน้ำแข็งที่ฝีเย็บ
ประเมินขนาดก้อนตั้งแต่แรก
ก้อนเลือดขนาดเล็ก ให้ประคบเย็น ขนาดใหญ่ I&D/ผูกหลอดเลือด
ให้การดูแลตามอาการ
การอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
(Parameteritis)
อาการ อาการแสดง
มีไข้สูงลอย 38.9-39.4 องศาเซสเซียส
เบื่ีออาหาร อาเจียน อุจจาระเหลว
หนาวสั่น ชีพจรเบาเร็ว
ซีด
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่ น้ำคาวปลาอาจไม่มาก คลำก้อนได้ที่หน้าท้อง อาจเจ้บท้อง
อาจมี Endotoxic shock
อาจพบ Cross of death
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขาดความรู้ในการดูแลตนเอง
วิตกกังวลการเจ็บป่วย
ปวดท้องอย่างรุนแรง
เสี่ยงภาวะหมดสติจากพยาธิสภาพของโรค
ไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
การพยาบาล
ป้องกันเชื้อ
ให้คำแนะนำในการรักษาสุขภาพ สุขวิทยา
การทำคลอดที่ถูกวิธี
เมื่อมีอาการ
ให้ ATB
ทำแผลระบายหนอง
จัดให้พักผ่อน/ไม่แพร่เชื้อ
แก้ไขอาการไม่สบาย
จัดอาหารเหมาะสม/ให้คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
ให้คำแนะนำการดูแลตนเอง การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา สัมพันธภาพครอบครัว
อาการรุนแรง
เตรียม CPR เมื่อ shock
ดูแลให้ IV
แก้ไขท้องอืด ใส่ NG Tube
ให้การพยาบาลตามอาการ ส่งเสริมให้กำลังใจ
5.จัดสถานที่ /ไม่แพร่เชื้อ
แนะนำการปฏิบัติตน ดูแลตนเองเมื่อพ้นภาวะวิกฤต
ภาวะมดลูกไม่เข้า (Subinvolution)
สาเหตุ
ภาวะที่ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การผ่าตัดคลอด
ทารกไม่ได้ดูดนมมารดา
มีการติดเชื้อภายในมดลูก
มดลูกคว่าหน้าหรือคว่ำหลังมาก
อาการ อาการแสดง
น้ำคา่วออกมากกว่าปกติ สีแดง กลิ่นเหม็น
มดลูกนุ่มและใหญ่กว่าปกติ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง กดเจ็บหรือมีอาการปวดมดลูก
มีไข้
อาจเกิดตกเลือดระยะหลัง Late PPH
การป้องกัน
ตรวจรกว่าคลอดครบหรือไม่
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การพยาบาล
ให้ ATB เมื่อมีการติดเชื้อ แนะนำการดูแล/การปฏิบัติตัว
แพทย์ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก เมื่อไม่ติดเชื้อ ประเมินระดับยอดมดลูก
เตรียมมารดาขูดมดลูก เมื่อมีรถค้าง
แนะนำพักผ่อน รับประทานอาหาร ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก รักษาความสะอดของอวัยวะสืบพันธุ์
ภาวะจิตแปรปรวนหลังคลอด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blue)
สาเหตุ
การคลอด
ความเครียดทางกาย
2.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายจากการคลอด
2.2 การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ
ความเครียดทางจิตใจ
ความตึงเครียดจากสังคม สิ่งแวดล้อม
อาการ อาการแสดง
ร้องไห้ไม่สาหตุ เศร้า เหงา หว้าเหว่ สับสนเดี่ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ กลัว เงียบขรึม กระสับกระส่าย เบื่้ออาหาร ลืมง่าย ไม่มีสมาธิ ท้อแท้หลังคลอด หายเองใน 2-3 สัปดาห์
การวินิจฉัย
การมีอารมณ์หงุดหงิดเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย
รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า วิตกกังวล
อารมณ์รุนแรง
ร้องไห้ง่าย
เหนื่อยง่าย
สับสน ฟุ้งซ่าน
แนวโน้ม
ระมัดระวังในการทำอะไรทุกอย่าง
วิตกกังวลสูง
วุฒิภาวะไม่สมบูรณ์
การพยาบาล
เป็นอาหารที่หายเองได้ การประคับประคองทางร่างกายและจิตใจ อธิบาย ช่วยเหลือด้วยตนเองและครอบครัว
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุ
ความเครียดทางกาย
1.1 การเปลี่ยนทางสรีรวิทยา จาการคลอด
1.2 การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน
1.3 ประสบการณ์การคลอดลำบาก การบาดเจ็บจาการคลอด
ความเครียดทางจิตใจ
2.1 ปัญหายุ่งยากในชีวิตสมรส
2.2 การตั้งครรภ์ไม่ปรารถนา
2.3 ขาดคนช่วยเหลือ
2.4 วิตกกังวล
2.5 กังวลกลัวทำหน้าที่มารดาไม่ดี
2.6 ความเจ็บป่วยทางจิต
ความตึงเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
อาการ
ท้อแท้ สิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย
หมดแรง
จิตใจหดหู่หม่นหมอง
จุกแน่นในอก และคอ
นอนไม่หลับ /นอนทั้งวัน ฝันร้าย
เบื่ออาหาร
ย้ำคิด กังวล กลัวถูกทำร้าย ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
รู้สึกตนเองไร้ค่า
หลงลืม ไม่สนใจตนเอง ไม่รู้สึกความรู้สึกทางเพศ
ระยะที่ 1 ระยะแรกหลังหลังคลอด วันที่ 3-10 ซึมเศร้า ฝันร้าย รู้สึกเสียใจ
ระยะที่ 2 1-3 เดือนหลังหลังคลอด พยายามเข้าเป็นสมาชิกครอบครัว มีอาการอ่อนเพลีย อดนอน หงุดหงิดอย่างมาก
ระยะที่ 3 ระยะเวลา 1 ปี พยายามปรับตัวอย่างมาก อ่อนล้า น้อยใจ
การพยาบาล
ดูแลมารดาได้รับการพักผ่อนอย่างพอเพียง
มารดาได้รับความสุขสบายด้านร่างกาย
ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพ
ให้คำแนะนำปฏิบัติตน และการเลี้ยงดูบุตร
ให้กำลังใจมารดา
ช่วยมารดาดูแลทารก
ดูแลมารดาอย่างใกล้ชิด เมื่อมีอาการรุนแรง
ให้มารดาทำกิจกรรมกับมารดาอื่นๆ
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
สาเหตุ
+แนวโน้มป่วยทางจิต ญาติป่วยเป็นโรคจิต
อาการ
อาการนำ นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย หงุดหงิด อารมณ์ไม่แน่นอน สับสน > อาการรุนแรง หลงผิด ประสาทหลอน หูแว่ว พยายามฆ่าตัวตาย
ถ้าไม่รักษา จิตเภท จิตซึมเศร้า จิตเภทเนื่องจากสมองพิการ
การรักษา
ทางกาย ใช้ยา ECT
ทางจิต จิตบำบัด
แก้ไขสิ่งแวดล้อม สามีเข้าใจมารดา ให้กำลังใจ
การพยาบาล
ให้มารดาได้รับความสุขสบาย สุขอนามัยที่ดี
ให้มารดา สามี ญาติเข้าใจการวินิจฉัยและแผนการรักษา
มารดาได้รับการรักษา
ส่งเสริมความในการดำรงบทบาทการเป็นมารดา และสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว
เปิดโอกาศให้ระบายความต้องการ
แนะนำการคุมกำเนิดมารดา วางแผนครอบครัว
แนะนำตรวจสุขภาพตามนัด
นายชญาวัต ไกรบำรุง เลขที่ 15 รหัสนักศึกษา 603101015