Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสําหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสําหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
1. ระยะเตรียม
การเป็นระยะการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆอย่างทันทวงที จําเป็นนต้องเป็นเตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
2. ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
a. ระยะวิกฤต(ภายใน72ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทาง สรีระและพฤติกรรม มีพลังอย่างมากเพื่อให้รอดชีวิต
b. ระยะฉุกเฉิน(72ชั่วโมง-2สัปดาห์)ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤตทั้งผู้สูญเสียหรือผู้รอดชีวิตจะ มองโลกในแง่ดี การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา
ถ้าท่านคือพยาบาลในทีม mcatt ท่านจะมีการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน อย่างไร
ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและกำหนดพื้นที่ที่จะลงไป ช่วยเหลือ
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์แบบประเมิณ/คัดกรอกภาวะสุขภาพจิต
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านจิตใจ ให้การช่วยเหลือเยียวยา จิตใจ โดยใช้ วิธีให้การปฐมพยาบาลด้ารจิตใจ
*
สร้างสัมพันธภาพ
พบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและการวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เพื่อส่งต่อทีมเพื่อดูแลระยะต่อไป
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid: PFA) ด้วยหลักการ EASE
1. วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ(Engagement:E)
a. การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal
ได้แก่ สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น กํามือ มือไขว่คว้า
ผุดลุกผุดนั่ง ลุกลี้ลุกลน น้ําเสียงกรีดร้อง ตะโกน
Verbal
ได้แก่ พูดสับสนฟัง ไม่รู้ เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
b. การสร้างสัมพันธภาพ
เริ่มจากการที่ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีท่าทีสงบนิ่งมีการแนะนํา ตัวเอง มีการมองหน้าสบตา
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กําลังใจ ด้วยการพยักหน้า การสัมผัส ซึ่งการแสดงออกของ ผู้ให้การช่วยเหลือควรเหมาะสมกบั เหตุการณ์ อารมณ์ความรู้ สึกและสภาพสังคมวัฒนธรรมศาสนาของ
c. การสื่อสาร ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อมเช่นเริ่มสบตา
มีท่าทีที่ผ่อนคลาย มีสติรู้ตัว
2. วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ(Assessment:A)
a. ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกายก็
ต้องบรรเทาความเจ็บ ปวดด้วยการให้ยา
ผู้ประสบภาวะวิกฤตมีอาการอ่อนเพลีย ควรจัดหาน้ำดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
3.ผู้ประสบภาวะวิกฤตเป็นลม ควรจัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
3. วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ(Skills:S)
a. การฝึกกําหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
b. Touchingskill(การสัมผัส)
4. วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จําเป็น(Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
โดยไต่ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จําเป็น และ เร่งด่วน
ต.2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด
ต.3 ติดตามติอเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือ ต่างๆ