Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา
ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อในระยะหลังคลอด
ความหมาย
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์สตรีระยะ
6 สัปดาห์แรกหลังคลอด
หรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
อาการ
มีไข้หลังคลอด สูง 38
องศาเซลเซียส
ติดต่อกัน 2 วัน ในช่วง 10 วันแรกไม่นับ 24 ชม. แรกคลอด
การวัดต้องถูกต้องตามเทคนิค วัดอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง
ต้องแยกออกจากการติดเชื้อนอกระบบสืบพันธุ์
แหล่งที่มา
แบคทีเรียที่พบตามปกติที่ช่องคลอดส่วนล่าง
แบคทีเรียจากทางเดินหายใจ ฝุ่นละออง มือของจนท. เทคนิคการทำคลอด เครื่องมือ
ปัจจัยเสริม
ภาวะโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนา
สุขวิทยาไม่ดี
ถุงน้ำแตกนาน 12 hr./น้ำเดินนานกว่า 24 hr.
การคลอดยาวนาน ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ
PV บ่อยเนื้อเยื่อกระทยกระเทือน
Hematoma
ตกเลือดมากกว่า 1000 ml.
การประเมิน
ฝีเย็บบวมช้ำ
ปากมดลูกอักเสบ
เยื่อมดลูกอักเสบ สังเกตจากน้ำคาวปลา
ผนังมดลูกอักเสบ/การติดเชื้อกระจายนอกมดลูก
อักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน (Parametritis)
สาเหตุ
ติดเชื้อจากการฉีกขาดของปากมดลูก หรือแผลบริเวณมดลูก
การฉีกขาดของปากมดลูกแผ่เข้าไปถึง Connective tissue ของBoard ligament
เป็นผลตามมาของ Pelvic thrombopheibitis
การประเมิน
ไข้สูงลอย หรือขึ้นๆลงๆ T 38.9 – 39.4 องศาเซลเซียส
เบื่ออาหาร อาเจียน บางครั้งถ่ายเหลว
หนาวสั่น ชีพจรเบาเร็ว
ซีด
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่แล้ว น้้าคาวปลาอาจไม่มาก
อาจเจ็บหน้าท้อง
อาจมี endotoxic shock
Cross of death เป็นสัญญาณอันตราย
อุณหภูมิ ต่ำกว่า 36 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
การวางแผนทางการพยาบาล
ให้คำแนะนำในการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาที่ดี
และการทำคลอดที่ถูกวิธีถูกเทคนิค
แยกผู้ป่วย ดูแลให้นอนหลับพักผ่อน ไข้ อาการปวด อาการอักเสบของแผล ให้ATB จัดอาหารที่เหมาะสม แนะนำการดูแลเต้านม/การให้นมบุตร
เมื่ออาการรุนแรง แยกpt. ไม่ให้แพร่เชื้อ ดูแลให้สารน้ำ เตรียมอุปกรณ์กู้ชีวิต ให้การพยาบาลตามอาการ แนะนำการปฏิบัติตน
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
เป็นการอักเสบของต่อมน้ำนม ส่วนใหญ่จะพบในช่วง 3-4 สัปดาห์หลังคลอดมักจะเป็นข้างเดียว และบางตำเแหน่ง เต้านมจะแดงและแข็งมากขึ้นมีอาการปวดบริเวณที่อักเสบ อาจจะมีไข้สูง หนาวสั่นร่วมด้วยประมาณ 10% ของภาวะเต้านมอักเสบจะกลายเป็นฝีบริเวณเต้านมตามมาได้
อาการ
ไข้สูง 38.5 - 40 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็ว อาการหนาวสั่น ปวดศีรษะอ่อนเพลีย
เจ็บปวดบริเวณเต้านม รู้สึกเต้านมหนักๆ
ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด(Infeanation) ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน
ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
แนวทางการรักษา
ให้ATB
ผ่าระบายหนอง
ให้ยาบรรเทาอาการปวด
การพยาบาล
รักษาความสะอาดของเต้านม มือ เสื้อผ้า
หากมีหัวนมแตกต้องรีบรับการรักษาไม่ปล่อยทิ้งไว้
ให้ยาปฏิชีวนะ พวก Penicillin อย่างน้อย 10 วัน
ประคบด้วยน้ำแข็งถ้าปวดมาก เพื่อบรรเทาอาการปวด หาไม่ดีขึ้นให้ยาแก้ปวด /ใส่ยกทรงพยุง
ถ้ามีหนองเกิดขึ้น จะต้องท า I / D เพื่อเอาหนองออก
ให้นมบุตรได้ตามปกติ ควรประคบด้วยน้ำอุ่นก่อน หากมีน้ำนมค้างให้บีบจนเกลี้ยงเต้า
การบวมเลือดหรือก้อนเลือดคั่ง (hematoma)
เกิดบริเวณ ปากช่องคลอดและช่องคลอด ซึ่งอาจเกิดจากการคลอด จากการกระทบกระแทก/อาจจะเกิดจากการแตกของเส้นเลือดดำขอด (varicose vein) บริเวณนี้
สาเหตุ
เกิดจากการบาดเจ็บจากการคลอดในรายที่คลอดเองหรือทำสูติศาสตร์หัตถการ
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บหรือแผลฉีกขาดที่ฝีเย็บไม่ดี
การบีบคลึงมดลูกรุนแรง ท้าให้เลือดคั่งใต้เยื่อบุช่องท้องและใน broad ligament
อาการ
เจ็บปวดบริเวณฝีเย็บหรือทวารหนักมากหลังคลอด
ถ้าเกิดการบวมเลือดบริเวณอื่นๆมารดาก็มีอาการปวดบริเวณนั้นตามแรงกดของก้อนเลือด
หากก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ก็จะท้าให้มารดาเกิดภาวะตกเลือด
ตามมาได้ โดยอาการตกเลือดอาจไม่สัมพันธ์กับจ้านวนเลือดที่
ออกทางช่องคลอด
การพยาบาล
ป้องกันการบวมเลือดโดยวางกระเป๋าน้้าแข็งที่ฝีเย็บในชั่วโมงแรกหลังคลอด
พยาบาลต้องประเมินขนาดของก้อนเลือดตั้งแต่แรกเพื่อใช้เปรียบเทียบอาการ
ตามขนาดก้อนเลือด ประคบเย็น ผ่าตัดระบายไว้
4.ให้การดูแลตามอาการ
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
เป็นภาวะที่ขบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานานหรือขบวนการนั้นหยุดไปก่อนที่มดลูกจะกลับคนสู่สภาพเดิมอย่างสมบูรณ์
สาเหตุ
ภาวะที่ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี จากสาเหตุต่างๆ
การผ่าตัดคลอด
มีการติดเชื้อภายในมดลูก
ทารกไม่ได้ดูดนมมารดา
มดลูกคว้ำหน้าหรือคว้ำหลังมาก
อาการ
น้้าคาวปลาออกมากกว่าปกติ มีสีแดงตลอด มีกลิ่นเหม็น
มดลูกนุ่มและใหญ่กว่าปกติ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง กดเจ็บหรือมีอาการปวดมดลูก
มีไข้
อาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง (Late PPH)
การพยาบาล
ให้ยาปฏิบัติชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อร่วมด้วย แนะน้ำการดูแลรักษาและการปฏิบัติตัว
ให้ยาปฏิบัติชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อร่วมด้วย แนะน้าการดูแลรักษาและการปฏิบัติตัว
กรณีที่เกิดจากมีรกค้าง แพทย์จะท้าการขูดมดลูกเพื่อเอา
เศษรกออก พยาบาลจึงต้องเตรียมมารดาส้าหรับการขูดมดลูก
แนะน้ำให้พักผ่อน การรับประทานอาหาร การส่งเสริมให้
น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก การรักษาความสะอาด
ภาวะจิตแปรปรวนหลังคลอด
โรคประสาทหรือภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum
depression)
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blue)
อุบัติการณ์
ร้อยละ 50 -60 การเริ่มอาการ 3-4 วันหลังคลอด น้อยกว่า 2 สัปดาห์
อาการ
อารมณ์แปรปรวน ซึมเศร้า อ่อนแรง กังวล สับสน ไม่ค่อยมีสมาธิ หายเองไม่ ต้องพึ่งยา
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อุบัติการณ์
ร้อยละ 0.1-0.2 ระยัเวล 2-4 วันหลังคลอด
อาการ
จิตหลอน ส าคัญตนผิด ไม่อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง อยู่เฉยๆไม่ได้ มักมีHxเป็นก่อนตั้งครรภ์ /ครอบครัวเป็น
อุบัติการณ์
ร้อยละ10-24 มีอาการหลายวัน/เป็นสัปดาห์ มากกว่า 2 สัปดาห์
อาการ
ซึมเศร้า ไม่สนใจกิจกรรมปกติ รู้สึกผิด สิ้นหวัง รู้สึกไม่สามารถเลี้ยงลูกได้
จัดทำโดย นางสาวนฤมล ดีสมจิตร เลขที่43 (603101043)