Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 7 hyperthyroidism - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 7 hyperthyroidism
Free thyroxine (FT4)
ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indication)
:Thyroid diseases
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
:ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
: เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย ng/dl
ค่าอ้างอิง (reference value) 0.93 – 1.70 ng/dl
Measuring range 0.023 – 7.77 ng/dl
Free triiodothyronine (FT3)
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
:ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมงหลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย pg/ml
ค่าอ้างอิง (reference value) 2.0 – 4.4 pg/ml
Measuring range 0.26 – 32.50 pg/ml
Thyroglobulin (Tg)
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
: ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย ng/ml
ค่าอ้างอิง (reference value) 3.5 – 77.0 ng/ml (not for athyrotic patient)
Measuring range 0.04 – 500 ng/ml
Thyroid stimulating hormone (TSH)
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
:ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย mIU/l
Measuring range 0.005–100 mIU/l
ค่าอ้างอิง (reference value) 0.27 – 4.20 mIU/l
Total triiodothyronine (T3)
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
:ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย ng/dl
ค่าอ้างอิง (reference value) 80.0 – 200.0 ng/dl
(Measuring range)19.4-651.0 Nguyen/dl
Total thyroxine (T4)
การเตรียมผู้ป่วย ( patient preparation )
:ในผู้ป่วยที่ได้รับ biotin therapy > 5 mg/day ควรเจาะเลือดผู้ป่วยหลังจากได้รับ biotin ครั้งสุดท้าย อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:เลือดปริมาณ 3-6 มิลลิลิตร ใส่หลอดจุกสีแดง (Clotted blood) หรือหลอดจุกสีเขียว (Li - heparin) ในกรณีที่ไม่ขอส่งตรวจ Anti -Tg ร่วมด้วย
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย μg/dl
ค่าอ้างอิง (reference value) 5.1 – 14.1 μg/dl
Measuring range 0.42 – 24.9 μg/dl
Urine iodine (UI)
สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ ( collection medium )
:ปัสสาวะปริมาณ 2-5 มิลลิลิตร ใส่ภาชนะเก็บปัสสาวะที่มีฝาปิดสนิท สะอาดปราศจากไอโอดีน
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง ( handling )
:ใส่สิ่งส่งตรวจในภาชนะส่งสิ่งส่งตรวจที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
รายงานผลเป็นหน่วย μg/l
ค่าอ้างอิง (reference value) 90 – 230 μg/l
Measuring range 50-300 μg/l
การแปลผล thyroid function test ที่พบบ่อย
Euthyroidism
T3:ปกติ T4:ปกติ TSH:ปกติ
Primary hyperthyroidism
T3:สูง T4:สูง TSH:ต่ำ
Secondary hyperthyroidism
T3:สูง T4:สูง TSH:สูง
Subclinical hyperthyroidism
T3:ปกติ T4:ปกติ TSH:ต่ำ
Primary hypothyroidism
T3:ต่ำ T4:ต่ำ TSH:สูง
Secondary hypothyroidism
T3ต่ำ T4:ต่ำ TSH:ต่ำ
Subclinical hypothyroidism
T3:ปกติ T4:ปกติ TSH:สูง
Anti-thyroid antibody
1. Anti-thyroid peroxidase antibody (TPOAb)
เป็นantibody ต่อเอนไซม์peroxidase ในผู้ป่วยโรค autoimmune ของต่อมไทรอยด์ตรวจพบ TPOAb ได้ประมาณ 40-50%
2. Anti-TSH receptor antibody (TRAb)
เป็น antibody ต่อTSH receptor ในผู้ป่วย Graves’ disease ที่ยังไม่ได้รับการรักษาตรวจพบ TRAb ได้สูงถึง80-90%
3.Anti-thyroglobulin antibody (TgAb)
เป็นantibody ต่อTg ในผู้ป่วยautoimmune ของต่อมไทรอยด์ ตรวจพบ TgAb ได้ประมาณ40-50% TgAb มีความสำคัญเป็นอย่างมากในผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ชนิด differentiated เนื่องจากระดับTgAb ที่สูงอาจส่งผลรบกวนการแปลผลTgซึ่งเป็น tumor marker
การตรวจ BMR
คือ Basal Metabolic Rate (BMR) คือ อัตราการความต้องการเผาผลาญของร่างกายในชีวิตประจำวัน หรือจำนวนแคลอรี่ขั้นต่ำที่ต้องการใช้ในชีวิตแต่ละวัน ซึ่งผู้ป่วยโรคเกรฟส์จะมีค่า BMR สูงขึ้นถึง +40 ถึง +100 ซึ่งค่าปกติอยู่ที่ ±20
การตรวจ PBI
คือ protein bound iodine (PBI) เป็นปริมาณโปรตีนนี้จะผันแปรขึ้นอยู่กับการทำงานของต่อมไทรอยด์ ในคนที่มีต่อมไทรอยด์ปกติจะมี PBI ในพลาสมาประมาณ 3-8 ไมโครกรัมต่อเดซิลิตร ซึ่งผู้ป่วยโรคเกรฟส์จะมีค่าสูงถึง 15-20 ไมโครกรัมต่อเดซิลิตร
การถ่ายภาพต่อมไทรอยด์ด้วยสารกัมมันตรังสี Thyroid( scan)
ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indication)
•วินิจฉัยแยกสาเหตุของthyrotoxicosis เช่นวินิจฉัยแยก hyperthyroidism กับ thyroiditis
•ประเมินการทำงานของ thyroid nodule
•วินิจฉัย ectopic thyroid tissue
•วินิจฉัยหาสาเหตุของ neonatal hypothyroid
•วินิจฉัย substernal goiter
•ประเมินเนื้อเยื่อไทรอยด์ที่เหลือหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ชนิด differentiated
สารเภสัชรังสี(radiopharmaceutical)
สารเภสัชรังสี(radiopharmaceutical)
การตรวจ Thyroid scan สามารถใช้สารเภสัชรังสีได้หลายชนิด แต่ละชนิดคุณสมบัติข้อดี ข้อเสียแตกต่างกัน ไป สารเภสัชรังสีในอุดมคติสำหรับ thyroid scan (ideal radiopharmaceutical) คือ123Iซึ่งยังไม่มีใช้ในประเทศไทยในขณะที่สารเภสัชรังสีที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดคือ99mTcpertechnetate
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของสารเภสัชรังสีที่ใช้ในการตรวจ Thyroidscan
การสลายตัว (Decay mechanism)
123I
:Electron
131I
: capture Beta decay
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
:Isomeric transition
ค่าครึ่งชีวิต(Physical half-life)
123I
:13 ชั่วโมง
131I
:8 วัน
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
:6 ชั่วโมง
ค่าพลังงานรังสีแกมมา(keV)
123I
:159
131I
: 364
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
:140
รังสีเบต้า
123I
:ไม่มี
131I
:มี
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
:ไม่มี
กลไล Localization
123I
: Active transport
131I
:Active transport
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
:Simple diffusion
การบริหารสารเภสัชรังสี 123I
:รับประทาน
131I
: รับประทาน
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
: ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
ปริมาณรังสีที่ใช้
123I
:100-400 ไมโครคูรี
131I
: 50-100 ไมโครคูรี
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
: 2 มิลลิคูรี
การถ่ายภาพ
123I
:3-4 ชั่วโมงและ/หรือ24 ชั่วโมง
131I
: 24 ชั่วโมง
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
: 20 นาที
ข้อดี
123I
:ไม่มีรังสีเบต้า
131I
: ใช้แทน123I ได้ในการวินิจฉัย substernal goiter
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
: ได้ผลการตรวจเร็ว
ข้อเสีย
123I
ผลิตจากไซโคลตรอนจึงมี ราคาแพง ปัจจุบันยังไม่มีใช้ในประเทศไทย
131I
: -ใช้เวลานานในการตรวจ
-มีรังสีเบต้าจึงไม่นิยมใช้ในการวินิจฉัย
99mTc-pertechnetate (99mTcO4-)
: -ประเมินได้เฉพาะการ Trapping ไม่
-สามารถใช้ประเมินOrganification
-ถูกรบกวนจากactivity ในหลอด อาหารและหลอดเลือด