Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด Puerperal infection/Puerperal fever/Puerperal sepsis/Childbed fever
การติดเชื้อเยื่อบุโพรงมดลูก Endometritis/Metritis
อาการและอาการแสดง
:check: เบื่ออาหาร รู้สึกไม่สุขสบาย
ไข้สูง 38.8-38.9 องศา
:check: กดเจ็บบริเวณท้องน้อย
:check: น้ำคาวปลามีสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นเหม็น
:check: มดลูกเข้าอู่ช้า มี after pain
Pulse เร็ว
การรักษาพยาบาล
ทานอาหารครบ 5 หมู่
:check:ให้นอนท่า Fowler's position เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไปยังบริเวณใกล้เคียงและให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
รายที่รุนแรง :warning: IV+oxytocin
ล้างมือบ่อยๆ
:!:ให้ยา ATB (เน้นทานให้ครบ)
สังเกตและบันทึกน้ำคาวปลา ยอดมดลูก
แนะนำดูแลทำความสะอาดอวัยวะเพศ และห้ามสวนล้างช่องคลอด
รายที่ไข้สูง :warning: ให้น้ำเพียงพอ + แยกเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ระดับยอดมดลูกโตกว่าปกติ/ไม่ลดลง
กดเจ็บที่มดลูก/ปีกมดลูก
การตรวจ lab
WBC สูง
Neutrophil สูง
การติดเชื้อของแผลฝีเย็บ (Perineal infection)
มีสาเหตุมาจาก staphylococcus aureus
อาการและอาการแสดง specific
ห่อเลือด ปากช่องคลอดบวม
มีหนองไหล บริเวณติดเชื้อแข็งตึง เป็นลักษณะการบวมเลือด กดบริเวณรอบๆจะรู้สึกเจ็บ
ขอบแผลบวม แดง ร้อน
เจ็บปวดบริเวณที่ติดเชื้อ ผิวหนังมีสีคล้ำ
อาการทั่วไป
มีอาการหนาสั่น ไข้สูงถึง 40 องศา (รายที่ติดเชื้อมาก)
อุณหภูมิ 38.8 องศาและไม่มีไข้ (รายที่ติดเชื้อน้อย)
pulse < 100
WBC เพิ่มขึ้น
การรักษาพยาบาล
ยาแก้ปวด กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อยๆ
ล้างมือทุกครั้งก่อนจับทารก
ประเมินแผลฝีเย็บทุกวัน
REEDA
Ecchymosis ช้ำเลือด
Drainage สิ่งคัดหลั่งออกจากแผล
Edema บวม
Approximation ลักษณะของแผลฝีเย็บเย็บเสมอกันหรือไม่
Redness แดง
แผลติดดี ให้นั่งแช่ก้น sitz bath วันละ 2 ครั้ง นาน 15-20 นาที (น้ำ 38-40 องศา)
วัด v/s ทุก 4hr
ส่งเพาะเชื้อ
ตัดไหมระบายน้ำหรือหนองออก ใช้ผ้าก๊อซซับน้ำยาอัดเข้าไปในแผล
การติดเชื้อของเนื้อเยื่อยึดเหนี่ยวส่วนของมดลูกเหนือช่องคลอด (Parametritis/Pelvic cellulitis)
การติดเชื้อของเยื่อบุช่องท้องหลังคลอด (Puerperal peritonitis)
มดลูกไม่เข้าอู่หลังคลอด (Subinvolution)
ถ้าระดับมดลูดกไม่ลดต่ำลง ประมาณ 1/2-1นิ้ว ทุกวัน แสดงว่ากระบวนการกลับคืนสภาพของมดลูดถูกขัดขวาง เกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolution of uterus)
การติดเชื้อของเต้านม (Mastitis)
มักเกิดจากเชื้อ staphylococcus aureus
โดยผ่านเข้าทางหัวนมที่แตก แยก หรือบาดแผลของเต้านม พบมาก G1
:check: ไปตามหลอดน้ำเหลืองรอบท่อน้ำนม
:check: จากการดูดนมของทารกที่มีเชื้อในปากและจมูก
อาการนำ
:check:คัดตึงเต้านมรุนแรง
:check: ไข้สูง 38.3-40 องศา
:check: ปวดเต้านม กดเจ็บ
อาการทางคลินิก
ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ อาจมีหนาวสั่น
มีไข้ ชีพจรเร็ว
:check: เต้านมแข็งตึงขยายใหญ่ กดเจ็บ มีแดง ร้อน
:check: ปวดเต้านม มีการคั่งของน้ำนม น้ำนมออกน้อย
ตรวจร่างกายอาจพบ
:warning: ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้โตและเจ็บ
:red_flag:
เกิด 7-10 วันหลังคลอด
การรักษาพยาบาล
ลดการอักเสบ
:no_entry: ใช้ความร้อนประคบข้างที่เป็น
ให้นมบุตรได้ ควรบีบน้ำนมทิ้งตามเวลาที่ให้นม หลังได้ยา ATB 2-3 วัน จากนั้นก็ให้นมบุตรต่อได้
ลดปวด
:check:: ให้ยาแก้ปวด หรือใช้น้ำแข็งประคบและสวมชุดชั้นในพยุงไว้ตลอด
:check:การที่น้ำนมถูกขับออกช่วยป้องกันการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย
ส่งเพาะเชื้อ เพื่อให้ ATB
หากรักษาเร็ว อาการจะดีขึ้นภายใน 48hr หากรักษาไม่ทัน ---> Breast abscess
การบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (Vulva hematoma)
การวินิจฉัย
ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDAP
การรักษา
Small vulva hematomas สามารถซึมซับได้เองโดยไม่ต้องผ่าตัด
:check: ให้ใช้น้ำแข็งหรือการใช้ความร้อนอาจจะช่วยลดอาการบวมและความไม่สุขสบาย
:check: ก้อนใหญ่ หรือแพร่ขยายไปช่องท้อง ---> ระบายเลือดออก
:check:ถ้าฉีกขาดถึง broad ligament อาจทำ Hysterectomy
สาเหตุ
เย็บซ่อมแผลไม่ดี
บีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคลั่งที่ connective tissue ใต้เยื่อบุช่องท้อง และ broad ligament
มีการบาดเจ็บจากการคลอดในรายปกติ/การใช้สูติศาสตร์
การพยาบาล
:check:หลังผ่าตัด 24hr ให้อบแผลหรือนั่งแช่ก้น (sitz bath) วันละ 2 ครั้ง
ให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ
ประเมินแผลฝีเย็บและทำแผลวันละ 2 ครั้ง
ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสทารก
วัด V/S ทุก 4hr
:check: ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย และป้องกันท้องผูก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ภาวะแปรปรวนทางจิตอารมณ์หลังคลอด (Postpartum psychiatric disorder)
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression) / โรคประสาทหลังคลอด (Postpartum neurosis)
:no_entry:มักเริ่มด้วยการมีอารมณ์เศร้าหลังคลอดในวันที่ 4-10 หลังคลอด
:no_entry:อาการคงอยู่จนถึง 3-4wks หลังคลอด
อาการ
ระยะที่ 2
เกิดในช่วง 1-3 เดือน
ระยะที่ 3
เกิดได้ใน 1 ปี หลังคลอด
ระยะที่ 1
เกิดหลังคลอดวันที่ 3-10
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
:no_entry: มักเกิดภายในระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน หลังคลอด
:no_entry: เป็นมากภายใน 10วัน หลังคลอด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
:no_entry: มักเกิด 3-4 วัน หลังคลอด :no_entry: หายเอง 2-3wks
อาการที่พบบ่อย
:warning:ร้องไห้ไม่มีเหตุผล
รูสึกท้อแท้ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
:warning: อารมณ์เศร้า เหงา หว้าเหว่
การพยาบาล
:warning:ช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจแก่มารดา
:warning:อธิบายสภาพอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงของมารดาให้สามีและญาติเข้าใจ
การอักเสบของหลอดเลือดดำ (Thrombophlebitis)
การอักเสบของหลอดเลือดดำในอุ้งเชิงกราน (Pelvic thrombophlebitis)
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
:red_flag:
อาการปรากฎ ~ 10 วันหลังคลอด
:check: ปวดเกร็งน่อง
ไข้สูง หนาวสั่น
:check: ผิวหนังแดง บวม ร้อน บริเวณขาที่เป็น
:check: มีอาการบวม ต่อมาผิวหนังตึง บางใสและเป็นสีขาว
การตรวจร่างกาย
:no_entry: Homan's sign ผลบวก (จะปวดน่องมากเมื่อดันปลายเท้าเข้ามาลำตัว)
เมื่อเกิดการอักเสบจะทำให้เลือดไหลเวียนไม่ดี :red_flag:ขาจะมีสีขาว --->>
Milk leg
/
Phlegmasia alba dolens (White inflammation)
มักเกิดกับ Femoral, Suphenous, Popiteal veins
การรักษาพยาบาล
:red_cross: ไม่ควรนวดบริเวณน่อง เพราะอาจเกิดลิ่มเลือดไปอุดตันที่ปอด
และไม่ควรลุกเดิน
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา ---> Aspirin (มีฤทธิ์ป้องกันการแข็งตัวของเลือดอย่างอ่อน)
ส่องไฟหรือประคบด้วยความร้อน
ใช้โครงเหล็ก (Cradle) ครอบบริเวณขา เพื่อลดแรกกดจากผ้าห่ม
ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulant) ---> Dicumarol / Heparin
ตรวจ PT PTT ก่อนให้ยา
ประเมินน้ำคาวปลา บันทึกลัษณะ สี และปริมาณทุก 4hr
ประเมินเลือดออกในส่วนอื่นๆ
กระตุ้นให้ดื่มน้ามากๆ อย่างน้อยวันละ 3000-4000ml เพื่อลดความหนืดเลือด
งดให้นมบุตรขณะได้รับยา Dicumarol ---> ให้นมบุตรได้หลังหยุดยา 10 วัน
ให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ยกขาข้างที่่เป็นให้สูง ~12-15นิ้ว
ให้ยา ATB ต่อเนื่อง
การอักเสบของหลอดเลือดดำที่ขา (Femoral thrombophlebitis)
:red_flag:
อาการปรากฎ ~ 14 วันหลังคลอด
ไข้สูง หนาวสั่น
อ่อนเพลีย
มักเกิดกับ Overian, Uterine, Hypogastric vein
การรักษาพยาบาล
ดูแลให้ได้ ATB และยาต้านการแข็งตัวของเลือด
เตรียมมารดากรณีได้รับการเจาะเอาหนองออก (Colpotomy) / การผ่าตัด (Laparotomy)
ดูแล Total bed rest
อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็นใช้เวลา ~6-8wk